การออกแบบสภาพแวดล้อมแบบสมาร์ทเลิร์นนิ่งโดยใช้อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง
Main Article Content
บทคัดย่อ
Internet of Things (IoT) ทำให้อุปกรณ์ทุกชนิดรวมถึงอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถเชื่อมต่อและสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย รวมถึงด้านการศึกษา งานวิจัยนี้ได้ออกแบบสภาพแวดล้อมแบบ Smart learning โดยใช้ Internet of Things ซึ่งได้ให้คำนิยามของ Smart learning ไว้ว่าเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน โดยที่อุปกรณ์บางอุปกรณ์สามารถทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถสื่อสารกับอุปกรณ์อื่น ๆ ภายในสภาพแวดล้อมเดียวกันได้ จากการศึกษาค้นคว้าและทดลองพัฒนาอุปกรณ์ IoT ได้ผลการวิจัยออกเป็นการออกแบบสภาพแวดล้อมแบบ Smart learning ใน 3 ส่วนประกอบด้วย การจัดการห้องเรียนก่อนและหลังเรียน การตรวจสอบการเข้าเรียนของผู้เรียนและการเรียนการสอนในชั้นเรียน
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
กฤตย์ยุพัช สารนอก, และณมน จีรังสุวรรณ. (2562). การออกแบบรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ต ออฟ ธิง ร่วมกับการเรียนรู้จากคลาวด์คอมพิวติ้งเพื่อเสริมการเรียนรู้อย่างมีความหมายสำหรับผู้เรียนระดับ อุดมศึกษา. Journal of Southern Technology, 12(1), 92-102.
กอบเกียรติ สระอุบล. (2561). พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino และ Raspberry Pi. กรุงเทพมหานคร : หสม สำนักพิมพ์อินเตอร์มีเดีย.
เจษฎา ขจรฤทธิ์, ปิยนุช ชัยพรแก้ว, และหนึ่งฤทัย เอ้งฉ้วน. (2560). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Internet of Things ในการควบคุมระบบส่องสว่างสำหรับบ้านอัจฉริยะ. Journal of Information and Technology, 7(1), 1-11.
ณโม ปิ่นทอง. (2557). ระบบการสั่งเปิดปิดประตูผ่านระบบเครือข่าย. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
นพ มหิษานนท์. (2563). Arduino Smart Home Projects. นนทบุรี : สำนักพิมพ์คอร์ฟังก์ชั่น. มุหัมมัด มั่นศรัทธา, รชต เรืองกาญจน์, และวาทิต เบญจพลกุล. (2562). การจัดการและติดตามพฤติกรรมการเรียนผ่านแอพพลิเคชั่นโดยใช้เทคโนโลยี RFID และ QR Code ร่วมกับ IoT กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านลูโบ๊ะซามา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 12(1), 132-139.
Madakam S, Ramaswamy, R., & Tripathi, S. (2015). Internet of Things. (IoT): A Literature Review. Journal of Computer and Communications, 3(5), 164-173.
Marquez, J., Villanueva, J., Solarte, Z., & Garcia, A. (2016). IoT in Education: Integration of Objects with Virtual Academic Communities (VAC). New Advances in Information Systems and Technologies, 201-212.
Wortmann, F., & Fluchter, K. (2015). Internet of Things: Technology and Value Added. Business And Information Systems Engineering, 57(3), 221-224.