การคำนวณหาความเร็วและการกระจัดขึ้นอยู่กับเวลาของอนุภาค ภายใต้แรงต้านทานอากาศ แรงยก และแรงภายนอกในการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ในงานวิจัยนี้ศึกษาวิถีทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคมวล ที่เคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ภายใต้แรงต้านทานอากาศ, แรงยก เมื่อมีแรงภายนอกที่เป็นฟังก์ชันของเวลา มากระทำต่ออนุภาคในแนวดิ่ง แสดงการคำนวณหาความเร็วที่เป็นฟังก์ชันของเวลาในแนวระดับ และในแนวดิ่ง การกระจัดการเคลื่อนที่ของอนุภาคมวล ในแนวระดับ และในแนวดิ่งที่เป็นฟังก์ชันของเวลา อนุภาคมีการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ภายใต้แรงต้านทานอากาศ แรงยก และแรงภายนอกที่เป็นฟังก์ชันของเวลาและเป็นฟังก์ชัน Sine กำลังสองในแกน โดยการสร้างแบบจำลองทางฟิสิกส์ขึ้นมาโดยใช้กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันและใช้วิธีการอินทิเกรตเพื่อคำนวณหาความเร็วที่เป็นฟังก์ชันของเวลา และการกระจัดที่เป็นฟังก์ชันของเวลา ซึ่งมีการวิเคราะห์ผลการวิจัยเกี่ยวกับวิถีการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ซึ่งมีลักษณะไม่สมมาตร และความเร็วในแนวดิ่งที่เป็นฟังก์ชันของเวลาจะมีค่าแปรผันตรงกับค่าความถี่ และค่าสัมประสิทธิ์ของแรงต้านทานอากาศ
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
จุฑามาศ ช้างคำ, ปิยรัตน์ มูลศรี, และอาทิตย์ หู้เต็ม. (2565). แบบจำลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ภายใต้แรงภายนอกที่ขึ้นอยู่กับเวลา. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 17(2), 45-59.
Bradshaw, J. L. (2023). Projectile motion with quadratic drag. American Journal of Physics, 91(4), 258-263.
Dharma, R. P. (2019). Projectile motion using Mathematica. International Science Community Association, 7(3). 7-11.
Ebaid, A., El-Zahar, E. R., Aljohani, A. F., Salah, B., Krid, M., & Machado, J. T. (2019). Analysis of the two-dimensional fractional projectile motion in view of the experimental data. Nonlinear Dynamics, 97, 1711-1720.
Hutem, A., & Kerdmee, S. (2013). Physics Learning Achievement Study: Projectile, using Mathematica program of Faculty of Science and Technology Phetchabun Rajabhat University Students. European J of Physics Education, 4, 22-33.
Jeffrey, L.l., Donna, M. G. Comissiong & Karim R. (2014). Modelling the flight characteristics of a soccer ball. American Journal of Physics Education, 8, 4505.
Kantrowitz, R., & Neumann, M. M. (2017). Optimization of Projectile Motion Under Air Resistance Quadratic in Speed. Mediterranean Journal of Mathematics, 14(1).
Kuaykaew, S., Kerdmee, S., Banyenugam, P., Moonsri, P., & Hutem, A. (2016). The Analytical Description of Projectile Motion of Cricket Ball in a Linear Resisting Medium the Storm Force. Applied Mechanics and Materials, 855, 188-191.
Mustafa, T., & Tugce, A. (2020). Exact and approximate solutions to projectile motion in air incorporating Magnus effect. The European Physical Journal Plus, 135, 566.
Pouya, J.l., Patrick, K., Mohammad H., M., & William, W. (2014). Computational aerodynamics of baseball, soccer ball and Volleyball. American Journal of Sports Science, 115-121.
Uddin, N., Mostofa, G., & Rana, S. (2021). NUMERICAL ANALYSIS OF DRAG AND LIFT FORCES ACTING ON LONG RANGE PROJECTILES. International Journal of Academic Research and Reflection, 9(1), 15-27.