การออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหวรูปแบบสื่อผสม เพื่อนำเสนอประวัติความเป็นมาของชาวมอญ ในจังหวัดปทุมธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
The research – Design and Create a Mixed Media to Present the History of MON in Phatumthani Province is the creating of mixed media by using design procedure to be a tool in presenting the history of MON. The proposes of the research were: 1) to design abd create a mixed media to present the history of MON in Phatumthani province; 2) to examine the satisfaction of a specialist on a mixed media to present the history of MON in Phatumthani Province; and 3) to study a knowledge and understanding of students on a mixed media to present the history of MON in Phatumthani province.
The representative sample of this research is 43 students, elementary education grade 6 of Watbualuang School, Watchengtha School and Salapun School. The survey was using purposive random sampling.
The results of the research were as follows: 1) the examine of satisfaction of the specialist on a mixed media to present the history of MON in Phatumthani province is at the maximum level, equals 4.79; and 2) the cognition and satisfaction of the representative sample on a mixed media to present the history of MON in Phatumthani province is at high level, equals 4.09. Which be in line with the hypothesisDownloads
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
จวน เครือวิชฌยาจารย์. (2548). ประเพณีมอญที่สำคัญ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
จิราภรณ์ เต็งไตรรัตน์ และคณะ. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2534). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เจริญพร.
ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: วี พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ณัฐวุฒิ ไชยคุณ. (2551). การสร้างบทเรียนสื่อผสมอิเล็กทรอนิกส์เรื่อง การตัดต่อวิดีโอ ด้วยระบบนอนลิเนียร์ สำหรับนักศึกษาแขนงวิชาวิทยุโทรทัศน์ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2552). เทคโนโลยีมัลติมีเดีย. กรุงเทพมหานคร: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
บ้านจอมยุทธ. ประวัติศาสตร์มอญ. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.baanjomyut.com/library/2552/mon_history.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 12 มกราคม 2557).
วารินทร์ รัศมีพรหม. (2542). การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมชาย แก้วเจริญ. (2556). การใช้สื่อประสมเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 6: 1-13.
สุนันทา ยินดีรมย์, บุญเรือง ศรีเหรัญ, และชาตรี เกิดธรรม. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อประสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ใ 8: 50-61.
สุชาติ ฉัตรเจต. (2553). การพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง พหุนาม โดยใช้สื่อประสมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.