การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในลิปสติก ด้วยเทคนิคอินดักทีฟลี่ คับเปิ้ล พลาสมา-ออฟติคอล อิมิสชั่น สเปกโตรเมทรี (ไอซีพี–โออีเอส)

Main Article Content

ณพัฐอร บัวฉุน

บทคัดย่อ

                 ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในลิปสติกด้วยเทคนิคอินดักทีฟลี่ คับเปิ้ล พลาสมา-ออฟติคอล อิมิสชั่น สเปกโตรเมทรี (ไอซีพี–โออีเอส) โดยการวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักชนิดต่างๆ ได้แก่ เหล็ก(Fe) แคดเมียม(Cd) แมงกานีส(Mn) ปรอท(Ni) ตะกั่ว(Pb) และ สังกะสี(Zn) ทำการเก็บตัวอย่างลิปสติกจากร้านขายเครื่องสำอางตามท้องตลาดในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี  แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ แบบด้าน แบบมันวาว แบบกลอส และแบบทินท์เจล จำนวน 48 ตัวอย่าง โดยการสุ่มอย่างง่าย อย่างละจำนวน 12 ตัวอย่าง ทำการชั่งตัวอย่างหนัก 1 กรัมแล้วนำไปย่อยแบบเปียกด้วย กรดไนตริก (HNO3) 30 เปอร์เซ็นต์ ปริมาตร/ปริมาตร กรอง ปรับปริมาตรด้วยน้ำกลั่นแบบปราศจากไอออน และวิเคราะห์โลหะด้วยเทคนิคอินดักทีฟลี่ คับเปิ้ล พลาสมา-ออฟติคอล อิมิสชั่น สเปกโตรเมทรี (ไอซีพี–โออีเอส) ในสภาวะที่เหมาะสม ผลการศึกษาพบว่า ลิปสติกมีการปนเปื้อนของโลหะหนักคือ เหล็กเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0-316.7 mg/Kg แมงกานีสเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0-2.45 mg/Kg ตะกั่วเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0-1.95 mg/Kg สังกะสีเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0-307.95 mg/Kg แต่ไม่พบปริมาณแคดเมียมและปรอท เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและมาตรฐานอาหารและยาตามประกาศสาธารณสุข พบว่าลิปสติกประเภทด้าน และมันวาว มีปริมาณโลหะหนักสังกะสีเกินที่มาตรฐานกำหนด 

 

               The aim of this study was to determine heavy metals in lipsticks using Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometry (ICP-OES) including iron (Fe), cadmium (Cd), manganese (Mn), mercury(Hg), and lead (Pb) zinc (Zn). Lipstick samples were obtained from cosmetic shops in markets in Pathumthani province. Categories of the samples were matte, shiny, gloss and tin gel. The 48 samples were divided in to four groups, 12 each selected by random sampling.  One gram of samples were digested with 30% V/V nitric acid (HNO3) filtered, and adjusted volume with deionized water before determination of heavy metal under appropriate condition. The results found that the amount of iron was in the range of   0-316.7 mg/Kg, The amount of manganese was in the range of 0-2.8 mg/Kg, the amount of lead was in the range of 0-5.7 mg/Kg, and the amount of zinc was in the range of 0-307.95 mg/Kg. However, cadmium and mercury were not found. The comparison of the results with Thai Industrial Standards and Food and Drug Administration found that the amount of heavy metals obtained from matte lipsticks and shiny lipsticks was higher than the standard. 

               

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ณพัฐอร บัวฉุน

หลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

References

กันยารัตน์ ชลสิทธิ์ และคณะ. (2546). การปนเปื้อนของโลหะหนักในยาแผนโบราณของไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 12(2): 273-277.

กองควบคุมยา. (2547). สถิติจำนวนการขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณในแต่ละปีตั้งแต่ปี 2526-2543. http://www.fda.moph.go.th/fda.net/html/product/drug/fda_drug/data_4html.

คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา. 2549. บัญชียาจากสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2557). การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในยาแผนโบราณของไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 2. ราชบุรี. 2557. หน้า 39-44.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2557). การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในหอยแครง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 2. ราชบุรี. หน้า 45-50.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2557). การวิเคราะห์ปริมาณโลหะในเหงาของพืชสมุนไพรโดยใชเทคนิคอินดักทีฟลี คับเปล พลาสมา-ออฟติคอล อิมิสชั่น สเปกโตรเมทรี. การประชุมวิชาการระหวางสถาบัน ASTC ครั้งที่ 2. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต. หน้า 354-354.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2557). การปนเปอนของโลหะหนักในยาดองเหลา. การประชุมวิชาการระหวางสถาบัน ASTC ครั้งที่ 2. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต. หน้า 360-364.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2558). การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะในยาแผนโบราณโดยใช้เทคนิคอินดักทีฟลี คับเปิ้ล พลาสมา-ออฟติคอล อิมิสชั่น สเปกโตรเมตรี (ไอซีพี-โออีเอส). วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ. หน้า 158-166.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2558). การวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักและการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในยาแผนโบราณ. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2558. ปีที่ 10, ฉบับที่ 1, หน้า 78-95

ทัศนีย์ โชคเจริญรัตน์ และ สุวรรณา เหลืองชลธาร. (2548). แนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร. นนทบุรี: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2546). เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณเกี่ยวกับมาตรฐานการปนเปื้อนชื้อจุลินทรีย์ และโลหะหนักกระทรวงสาธารณสุข.

ประภัสสร ทิพยรัตน์ และคณะ (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพทางจุลชีววิทยาของยาจากสมุนไพรที่ผลิตโดยโรงพยาบาลชุมชน. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 12(1): 102-108.

ลัดดา พูลสวัสดิ์ และคณะ. (2548). การปนเปื้อนของเชื้อ Staphylococcus aureus, Salmonella spp. Clostridium spp. ในยาแผนโบราณ. รายงานการประชุมวิชาการกลุ่มภารกิจด้านการสนับสนุนงานบริการสุขภาพครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ.2548 เรื่องคุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกลเมืองไทยแข็งแรง. ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี นนทบุรี. 1-2 กันยายน 2548. หน้า 1-22.

เสาวภา พรสิริพงษ์ และ วิชิต เปานิล. (2541). การพัฒนาการผลิตสมุนไพรเพื่อเป็นยาในประเทศ สถานภาพปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา.

อรุณณี จันทกิจ และคณะ. (2541). การปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในยาแผนโบราณ. สารตำรายา. 6:88-95.

Bureau of Information, Office of the Permanent Secretary, MOPH. (2007). http://www.moph.go.th/ops/iprg/include/admin_hotnew=8225.

Chomnawang MT et al. (2003). Evaluation of microbiological quality of herbal products in Thailand. Thai J Phytopharm 10(2): 37-47.

Department of Medical Science, Ministry of Public Health. (2000). Thai Herbal Pharmacopoeia Vol II. Bangkok: Prachachoen Co., Ltd.

Department of Medical Science, Ministry of Public Health. (1987). Thai Pharmacopoeia Vol I. Bangkok;

Hitokoto et al. (1978). Fungal contamination and mycotoxin detection of powdered herbal drugs. Appl Environ Microbial. 36: 252-256.

Jay JM. (1996). Modern Food Microbiology. Chapman & Hall, New York.

Kositchaiwat et al. (1993). in the treatment of gastric ulcer comparison to liquid antacid: a controlled clinical trial. J Med Assoc Thai. 76: 601-605.

Paojinda P and Narknopmanee N. (2003). Determination of microbial contamination in herbal products. [Online]. [cited 2011 Dec 21]. Available from: http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/medplantdatab ase/pdf/2003/20030066.pdf.

Postharvest technology innovation center. (2003). Control of microbial contamination in vegetables and fruits. [Online]. [cited 2012 Dec 1]. Available from: http://www.phtnet.org/article/viewarticle.asp?aID=13.

Lennette et al. (1985). Manual of Clinical Microbiology. 4th ed. Washington DC: American Society for Microbiology.

Prathanturarug et al. (2003). Highfrequency shoot multiplication in Curcuma longa L. using thidiazuron. Plant Cell Rep. 21: 1054-1059.

Prathanturarug et al. (2005). Rapid micropropagation of Curcuma longa L. using bud explants pre-cultured in thidiazuronsupplemented liquid medium. Plant Cell Tissue Organ Cult. 80: 347-351.

Sripanidkulchai B et al. (2007). Contamination of pathogenic microbials and heavy metals in Thai traditional medicines produced in five amphurs of Khon Kaen province. KKU Res J 12(4): 499-507.

United States Pharmacopoeia. (2007), 31st revision. United States Pharmacopoeia Convention, Rockville, MD.

World Health Organization. (1998). Quality control methods for medicinal plant materials. Geneva

World Health Organization. (2003). WHO guidelines on good agricultural and collection practices (GACP) for medicinal plants. Geneva.