สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

Main Article Content

ณพัฐอร บัวฉุน
นฤมล ยุตาคม
พจนารถ สุวรรณรุจิ

บทคัดย่อ

                 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อความเข้าใจ การปฏิบัติและสภาพการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มที่ศึกษาเป็นครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต ข้อมูลการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ปฏิบัติการสอน การบันทึกภาคสนาม  และการวิเคราะห์เอกสาร แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ในการตรวจสอบแบบสามเส้าเกี่ยวกับความเข้าใจ การปฏิบัติและสภาพการจัดการเรียนการสอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า  ครูผู้สอนมีความเข้าใจที่ถูกต้องบางส่วนเกี่ยวกับการเรียนการสอน และมีความคลาดเคลื่อนบางส่วนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ส่วนการปฏิบัติงานสอนที่มีความเคลื่อนพบว่า ครูผู้สอนไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการกำหนดปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ และไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์กระบวนการสำรวจตรวจสอบ เพื่อนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ขาดการให้ข้อมูลย้อนกลับไม่เน้นให้ผู้เรียนตั้งคำถาม สำรวจตรวจสอบและแก้ปัญหา ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้จะนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยเน้นให้มีกิจกรรมที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และใช้วิธีการประเมินผลที่หลากหลายวิธี

 

                  This study explored understood about science teaching practice and Study of the State teaching and learning of science for quality of life in general education. The participants were teachers who were practicing their teaching according to science for quality of life. Data from semi-structured interviews, observations and field notes, and analysis of lesson plan documents were triangulated. Analytic induction was used for data analysis. The results revealed that the concept teaching was partially understood with a specific misconception. From the observations, some of the discrepancies in their teaching practices were: they did not allow students to define the problems to be investigated; they did not allow students to analyze the investigation process and the survey questions used for examination, and the lack of feedback and guidance regarding the students’ own conclusions. The findings could be applied for developing methods of instruction in a science for quality of life in general education course to promote understanding and microteaching practice by focusing on activities using the scientific process and using various evaluation methods.

 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ณพัฐอร บัวฉุน

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

นฤมล ยุตาคม

ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

พจนารถ สุวรรณรุจิ

ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

References

กมลสุด ประเสริฐ. 2543. รายงานการวิจัยเรื่องดัชนีความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา,กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาการศึกษาแห่งชาติ.

กรมวิชาการและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2544. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์

กลุ่มงานพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา. 2544. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการพัฒนานโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

กองนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน. 2545. การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร: กองนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน.

กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา งกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

คณะศึกษา "การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์". 2542. ความจริงของแผ่นดิน ลำดับที่ 2: ครูเก่งๆของเรามีอยู่เต็มแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เจ ฟิล์ม โปรเซส จำกัด.

จอมใจ เม้ยมรทา. 2540. สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (สําเนา)

จันทร์ชลี มาพุทธ. 2545. การประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ตามกรอบการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย. ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชาตรี ฝ่ายคำตา และ วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2548. ปัญหาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์(สควค.). วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์. 11(2), 151-164.

ชาตรี สำราญ. 2542. ครูและห้องเรียน ค.ศ. 2000. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ณัฐวิทย์ พจนตันติ. 2548. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน และความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 ตามแนวการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต(สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ต่วนริสา ต่วนสุหลง. 2552. ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคมต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

นฤมล ยุตาคม. 2542. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โมเดลการสอน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม (Science Technology and Society-STS Model). ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 14, 29-48.

นฤมล ยุตาคม และ พรทิพย์ ไชยโส. 2550. การพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ประจำการเพื่อการจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2541. “ทฤษฎีการสร้างความรู้กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์”. หน้า 44-62. สาระการศึกษา”การเรียนการสอน”. กรุงเทพมหานคร: กองทุนศาสตราจารย์

ดร. อุบล เรียงสุวรรณและสกลรัตน์ สวัสดิ์มูล. 2545. การศึกษาลักษณะความรอบรู้เชิงวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2540. การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

______. 2545. มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(พิมพ์ครั้งที่ 1) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

______. 2542. แนวทางการปฏิรูปการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2548ก. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาพ.ศ. 2548 และแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.

_______. 2548ข. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2551. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา:ระเบียบวาระแห่งชาติ (พ.ศ. 2551 – 2555).กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ. 2542. หลักสูตรหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 6. 2541. การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 6

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา. 2549. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สุภากร พูลสุข. 2547. ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคมต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคพังงา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สุภางค์ จันทวานิช. 2549. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาวดี แก้วงาม. 2549. ความสามารถในการแก้ปัญหาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ที่ได้รับการสอนตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุภางค์ จันทวานิช. 2549. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

American Association for the Advancement of Science. 1990. Science for all American. New York: Oxford University Press.

American Association for the Advancement of Science. 1989. Science for All Americans: A Project 2061 Report on Literacy Goals in Science, Mathematics, and Technology . Washington, D.C.: AAAS Publication.

Anderson, B., Wallin, A. 2000. “Students’ understanding of the greenhouse effect, the societal consequences of reducing co2 emission and the problem of ozone layer depletion. ”Journal of Research in Science Teaching. 37(10): 1096-1111.

Aikenhead, G. S. 1985. “Training teachers for STS education. ”In R. K. James (Ed.).Science, Technology, and Society. Tennessee: Cookeville, 56-64.

Bybee, R. W. 1985. “The Sisyphean question in science education : what should the scientifically and technologically literate person know, value and do – as a citizen ?’In R. W. Bybee. (ed). Science – technology – society 1985 NSTA Year Bork. Washington D.C.: National Teacher Association. 79 – 93.

_______. 1987. “Science education and the Science - Technology - Society (S-T-S) theme”. Science Education.71 (5): 667 - 683.

Lee, B. W., K. K. Shin, and Y. S. Lee. 2001. The effect on learning achievement gotten by the teaching - learning method of STS integrated approach in technology(Online). www.pa.ash.org.au/acetech/papers/ occiss1/ Byung%20 Wook % 20Lee.pdf,March 2, 2007.

Lutz, M. 1996. “The congruency of the STS approach and constructivism.”In R.E. Yager.(ed.). Science/Technology/Society as Reform in Science Education. New York: State University of New York Press. 39 - 52.

Mbajiorgu, N. M. 2003. “Relationship between STS approach, science literacy and achievement in biology.” Science Education.87(1): 31 - 39.

National Council for the Social Studies (NCSS). 1990. “Teaching about sciencetechnology and society in social studies : education for citizenship in the 21st

century. Social Education. 54 (4): 189-193.

_______. 1994. Curriculum Standards for Social Studies. Washington D.C.: National Council for the Social Studies.

National Science Teacher Association (NSTA). 1993. “Science/Technology/Society: a new effort providing appropriate science for all.” In. R. E. Yager (ed.) What Research Says to the Science Teacher. The Science Technology Society Movement. Washington D.C.: NSTA. Vol. 7. 3 - 5.

Solomon. J. 1988. “Science, Technology and Social Course : tool for thinking about social issues.” International Journal of Science Education.10 (4) : 379-387.

_______. 1996. “STS in Britain: science in a social context.” In R. E. Yager (ed.). Science/Technology/Society as Reform in Science Education. New York: State University of New York Press. 241-248.