นามนัยในภาษาไทย

Main Article Content

ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับนามนัย และรวบรวมการใช้ถ้อยคำนามนัยในภาษาไทยทั้งที่ปรากฏในวรรณกรรม บทกวี บทเพลง และภาษาทั่วไปที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งสำนวน การสนทนา ภาษาข่าว โดยศึกษาจากกรอบแนวคิดทางภาษาศาสตร์ปริชาน (Cognitive Linguistics) ที่นักภาษาศาสตร์หลายๆ คนได้นำเสนอไว้ในบทความ ตำรา หนังสือ ต่างๆ อาทิ ของเลคอฟฟ์และจอห์นสัน (Lakoff and Johnson, 1980), ราดเดน และโคเวคเซซ (Gunter Radden, Zoltan Kovecses, 1999), ฟรานซิสโก และลอเรน่า (Francisco José Ruiz de Mendoza Ibáñez and Lorena Pérez Hernández, 2003), โคเวเซซ (Zoltan Kovecses, 2004), ฮิลเปอร์ (Martin Hilpert, 2006), ดาวนิ่งและมูยิค (Laura Hidalgo Downing and Blanca Kraljevic Mujic, 2013) ลิตเติลมอร์ (Jeannette Littlemore, 2015) จากการศึกษารวบรวมพบถ้อยคำนามนัยในภาษาจำนวนมากซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นชนิดต่างๆ สอดคล้องกับแนวคิดของนักภาษาศาสตร์ดังที่กล่าวมา การศึกษานามนัยในภาษาไทยครั้งนี้เป็นกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาที่มีต่อสิ่งต่างๆ

Article Details

How to Cite
ผลประดับเพ็ชร์ ป. (2017). นามนัยในภาษาไทย. วรรณวิทัศน์, 17, 188–218. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2017.8
บท
บทความประจำฉบับ

References

ชัชวดี ศรลัมพ์. (2548). อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารศิลปศาสตร์, 5(1), 2-16.

ไชยวัฒน์ ไชยสุข และสมเกียรติ รักษ์มณี. (2559). กลวิธีการใช้ภาษาและภาพสะท้อนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดีของมกุฎ อรฤดี. รมยสาร, 14(1), 55-64.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2552). หน้าที่ของอุปลักษณ์จากมุมมองของผู้พูดภาษาไทย. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 16(1), 249-268.

ธเนศ เวศร์ภาดา. (2549). หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: ปาเจรา.

ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร์. (2560). บุคลาธิษฐาน: อุปลักษณ์ในมุมมองทางภาษาศาสตร์ปริชาน. รมยสาร, 15(1), 22-29.

รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม. (2556). อุปลักษณ์ความสุขในบล็อคไทย. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 14(28), 132-138.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด.

วิภา กงกะนันท์. (2556). วรรณคดีศึกษา ว่าด้วยหลักการอ้าน. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา.

สถาบันภาษาไทย. (2554). บรรทัดฐานภาษษไทย เล่ม 3: ชนิดของคำ วลี ประโยค และสัมพันธสาร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สุจิตรา จงสถิตวัฒนา. (2459). เจิมจันทร์กังสดาล: ภาษาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Dan FAS. (1988). Metonymy and Metaphor: What’s the Diќerence?. Retrieved April 13, 2017 from http://dl.acm.org/citation.cfm?id=991671.

Haser Verena. (2005). Metaphor, Metonymy, and Experientialist Philosophy. Berlin: Walter de Gruyter GmbH & Co. KG, 10785.

Francisco José Ruiz de Mendoza Ibáñez and Lorena Pérez Hernández. (2003). Cognitive operations and pragmatic implication. In Klaus-Uwe Panther, Linda L. Thornburg, Metonymy and Pragmatic Inferencing. (pp. 23–49). Amsterdam: John Benjamins Publishing Co.

Gunter Radden, Zoltan Kovecses. (1999). Towards a Theory of Metonymy. In Klaus-Uwe Panther, Günter Radden, Metonymy in Language and Thought. (pp. 17–59). Amsterdam: John Benjamins Publishing Co.

Jeannette Littlemore. (2015). Metonymy Hidden Shortcuts in Language, Thought and Communication. Cambridge: Cambridge University Press.

Lakoќ, George. (1987). Women, Fire, and Dangerous Things What Categories Reveal About

the Mind. Chicago: University of Chicago Press.

Lakoќ, George, and Mark Johnson. (1980). Metaphors we live by. Chicago: University of Chicago Press.

Laura Hidalgo Downing and Blanca Kraljevic Mujic. (2013). Multimodal metonymy and metaphor as complex discourse resources for creativity in ICT advertising discourse. In Francisco Gonzálvez-García, Metaphor and Metonymy revisited beyond the Contemporary Theory of Metaphor. (pp. 157–181). Amsterdam: John Benjamins Publishing Co.

Martin Hilpert. (2006). Keeping an eye on the data: Metonymies and their patterns. In Anatol Stefanowitsch, Stefan Th. Gries, Corpus-Based Approaches to Metaphor and Metonym. (pp. 123–151). Berlin: Walter de Gruyter GmbH & Co. KG.

Penny Tompkins and James Lawley. (n.d.). Metonymy and Part-Whole Relationships. Retrieved April 13, 2017 from http://www.cleanlanguage.co.uk/articles/ articles/210/1/Metonymy--Part-Whole-Relationships/Page1.html

Rene Dirven and Ralf Parings. (2003). Metaphor and Metonymy in Comparison and Contrast. Berlin: Walter de Gruyter GmbH & Co.

Zoltan Kovecses. (2004). Metaphor and Emotion Language, Culture, and Body in Human Feeling. Cambridge: Cambridge University Press.