ตำนานพระอุปคุตในสังคมไทย: การรับรู้ตำนานพระอุปคุตและความสับสน กับประวัติของพระสาวกรูปอื่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
ตำนานพระอุปคุตในสังคมไทยปรากฏทั้งในวรรณกรรมพุทธศาสนาและวรรณกรรมท้องถิ่น ตำนานดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับคติความเชื่อเรื่องพระอุปคุตผู้มีอิทธิฤทธิ์ปราบมาร และพระอุปคุตกับความอุดมสมบูรณ์ที่ปรากฏในประเพณีและพิธีกรรมท้องถิ่นต่างๆ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเรื่องราวของพระอุปคุตไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกบาลี ทำให้มีความสับสนกับประวัติของพระสาวกบางรูปในพระไตรปิฎกบาลีคือ พระสุภูติเถระและพระควัมปติเถระ
Article Details
References
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๕๑๖). พระราชพิธีสิบสองเดือน. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๔). กรุงเทพมหานคร: ศิลปาบรรณาคาร.
ฉัตต์ ปิยะอุย. (๒๕๔๑). งานบุญผะเหวดมุกดาหาร วัดมโนภิรมย์ บ้านชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ ๑๔-๑๕ มีนาคม ๔๑. [ม.ป.ท.] พรีสเกล.
ธีรพงษ์ จตุรพาณิชย์. (ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๔๑). พระอุปคุตกับงานบุญผะเหวด.เมืองโบราณ.๒๔, (๔) ๑๓๐-๑๓๕.
บรรจบ บรรณรุจิ. (๒๕๓๗). อสีติมหาสาวก. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). นนทบุรี: กองทุนศึกษาพุทธสถาน.
บุญผเวสของชาวอีสาน: การวิเคราะห์และตีความหมายทางมานุษยวิทยา.(๒๕๓๔). ห้องปฏิบัติการทางมานุษยวิทยาของอีสาน, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา.
ผีกับพุทธ: ศาสนาและความเชื่อในสังคมด่านซ้าย. (๒๕๕๐). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์.
พระครูพัทธนาธิมุต (ประพันธ์ กวาวสิบสาม), และ พระธีรชัย ใจดี. (๒๕๕๕). พระมหาอุปคุตพระอรหันต์ผู้ปราบมารบันดาลโชคลาภ. เชียงใหม่: สันติภาพแพ็คพริ้นท์.
พระประพันธ์ สุทฺธจิตฺโต (กวาวสิบสาม). (๒๕๔๘). อิทธิพลความเชื่อเรื่องพระอุปคุตที่มีต่อพิธีกรรมชาวพุทธล้านนา.วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาพระพุทธศาสนา.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุเปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา. (๒๕๓๙). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระนิพพานโสตร ฉบับศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้ (สำนวนที่ ๔). (๒๕๒๘). กรุงเทพมหานคร:กรุงสยามการพิมพ์. (ศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราชและมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศญี่ปุ่น)
พระมหาชนะ ธมฺมธโช ภมรพล ป.ธ.๙. (๒๕๔๒). โคลงสารปถมสมโพธิ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.พระสัทธรรมโฆษเถระ. (๒๕๒๘). โลกบัญญัติ. กรมศิลปากร, หอสมุดแห่งชาติ.
พระอริยานุวัตร เขมจรีเถระ. (๒๕๑๓). พระอุปคุตผาบมาร.มหาสารคาม: ทุนมูลนิธิอาเซีย.
พิเชฐ สายพันธ์. (๒๕๓๙) “นาคาคติ” อีสานลุ่มน้ําาโขง: ชีวิตทางวัฒนธรรมจากพิธีกรรมร่วมสมัย.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, สาขามานุษยวิทยา.
วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลําาพูน. (๒๕๔๔). (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอําานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒)
วิศิษฏ์ ดวงสงค์. (๒๕๔๒). แห่พระอุปคุต (วัดพระธาตุพนม). ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน (ล.๑๕, น.๕๑๓๓-๕๑๓๖). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทยพาณิชย์.
ส.ศิวรักษ์, แปลและเรียบเรียง, (๒๕๕๒). ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาวทาน.(พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ไทย-ธิเบต.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. (๒๕๓๐). ปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพมหานคร: กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
เสถียร โพธินันทะ. (๒๕๔๔). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. (๒๕๔๖). ปฐมสมโพธิกถาภาษาไทยฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส: ความสัมพันธ์ด้านสารัตถกับวรรณกรรมพุทธประวัติอื่น.วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาภาษาไทย.
อภิชาติ ยอดสุวรรณ. (๒๕๓๔). บทบาทของพระอุปคุตในเรื่องมหาอุปคุตฉบับล้านนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาภาษาและวรรณกรรมล้านนา.
อุดม รุ่งเรืองศรี. (๒๕๔๒). พุทธศาสนาในล้านนา. ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ (ล.๙, น.๔๗๑๕-๔๗๒๘). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์.
Rhum, Michael R. (1994). The Ancestral Lords: Gender, Descent, and Spirits in a Northern Thai Village. n.p.: Northern Illinois University, Center for Southeast Asian Studies.
Strong, John. (1992). The Legend and Cult of Upagupta: Sanskrit Buddhism in North India and Southeast Asia. Princeton, New Jersy: Princeton University Press.
กาฬสินธุ์แล้งหนัก! แห่พระอุปคุตขอฝน. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖, จาก http://www.komchadluek.net/detail/20130308/153510/กาฬสินธ์ุแล้งหนัก! แห่พระอุปคุตขอฝน
คนรออาบน้ำมนต์ตักบาตรวันเป็งปุ๊ด. สืบค้นเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๕, จาก http://www.chiangmainews.co.th/page/?p=76428“
หลวงปู่สุภา” เกจิชื่อดังอายุ ๑๑๔ ปี อวยพรปีใหม่ชาวภูเก็ตอยู่ดีมีสุข. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕, จาก http://www.manager.co.th/South/ViewNews.aspx?NewsID=9500000151658
สุธี สุดประเสริฐ. (๒๕๕๔). โปรแกรมตรวจหาและเทียบเคียงพุทธวจนจากพระไตรปิฎก E-Tipitaka version 2.1 [วัสดุบันทึกเสียง].
ป้ายจารึกพระควัมปติเถระ พระผู้ทรงพลังและอานุภาพในการห้ามน้ําา. (๒๕๕๕). [ภาพถ่าย].สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเลและป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต.