รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ TAE Model เพื่อพัฒนาทักษะการบูรณาการข้ามศาสตร์ กรณีศึกษา กระจกเกรียบวัสดุศาสตร์ในวิถีไทยสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม

Main Article Content

รัชพล เต๋จ๊ะยา

บทคัดย่อ

ด้วยความก้าวหน้าสู่สังคมในศตวรรษที่ 21 เยาวชนเป็นกำลังสำคัญของประเทศในอนาคต ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้และการบูรณาการทางการศึกษาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมา จะต้องส่งเสริมให้เยาวชนเหล่านี้ เป็นผู้ที่มีความเก่ง ฉลาด ทั้งทางด้าน "ศาสตร์" และ "ศิลปะ" อย่างเต็มรูปแบบ ด้วยเหตุนี้ การจัดการเรียนการสอนตามวิถีทาง STEAM Education ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญ เริ่มต้นด้วยการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมที่จะพัฒนา ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วย “TAE MODEL” จากนั้นใช้ทักษะการบูรณาการข้ามศาสตร์ ครูผู้สอนสนับสนุนผลักดัน สร้างแรงบันดาลใจ ดึงศักยภาพของนักเรียนออกมา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและสามารถบูรณาการทางด้านศาสตร์และศิลป์ และเสริมสร้างผู้เรียนเป็นนวัตกร บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอต้นแบบสู่การพัฒนาทักษะการบูรณาการข้ามศาสตร์ เพื่อการต่อยอด สร้างสรรค์นวัตกรรม โดยมีกระจกเกรียบ วัสดุศาสตร์ในวิถีไทยเป็นสื่อกลางจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการบูรณาการข้ามศาสตร์ มุ่งเน้นการต่อยอด สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อเป็นต้นแบบแนวทางการจัดการเรียนการสอน พัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตลอดจนการเพิ่มคุณค่า มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม ควบคู่การอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญาของไทยอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Chokphattara, C. (2023, May). Stained Glass, a miracle of exquisite art of Siam. Anurak Magazine, 67. Retrieved from https://www.anurakmag.com/featured-posts/05/11/2023/kriab-glass-marvelous-fine-arts-of-siam [in Thai]

Department of Academic Affairs. (2001). Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology Ministry of Education. Learning management manual Career and technology learning group. Bangkok, Thailand: R.S.P. [in Thai]

Jaitiang, A. (2010). Teaching principles (5th ed.). Bangkok, Thailand: O.S. Printing House, 129. [in Thai]

Jitchayawanich, K. (2019). Learning management. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University Publisher. [in Thai]

Khamanee, T. (2019). Teaching science (23rd ed.). Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University Publisher. [in Thai]

Munkham, S., & Munkham, O. (2002). Integrating curriculum and teaching with the emphasis on students. Bangkok, Thailand: T.P. Print [in Thai]

Office of the Prime Minister. (2002). Office of the National Education Commission, National Education Act 1999, amended (2nd ed.). Bangkok, Thailand: Phrikwan. [in Thai]

Office of the Secretariat of the Education Council. (2004). Model for organizing the learning process according to learning content groups. Bangkok, Thailand: Hasan. [in Thai]

Phayakaranont, J. (1966). Stained glass decoration. Journal of Thai Culture, 6(9), 26. [in Thai]

Pornkul, C. (2018). Teacher knowledge creation process, The case for integrated teaching. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University. [in Thai]

Royal Academy. (2014). Royal institute dictionary 2011 (2nd ed.). Bangkok, Thailand: Nanmeebooks [in Thai]

Sinthaphanon, S. (2015). Learning management for modern teachers, to develop the skills of students in the century No.21. Bangkok, Thailand: 9119 Printing techniques. [in Thai]

Tumthong, B. (2016). Theory and development of learning management models (3rd ed.). Bangkok, Thailand: Triple Education. [in Thai]