การประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
An Evaluatio of The Enhanced Moral Identity Project of Banwangtao School under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2
คำสำคัญ:
การประเมินโครงการ / คุณธรรมอัตลักษณ์บทคัดย่อ
การประเมินในครั้งนี้ใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPPIEST มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 และ 2) เปรียบเทียบผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 กับเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ผู้ประเมินได้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 145 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บและรวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า 1.ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านประสิทธิผล ด้านผลกระทบ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านความยั่งยืน และด้านกระบวนการ ตามลำดับ 2. ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 (=5.52, S.D.=0.28) มีความแตกต่างกับเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (=5.20) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่องรูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
------------. (2547). พระราชบัญญัติระเบียบราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
โฉมยงค์ คงประดิษฐ์. (2556). การประเมินโครงการเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับนานาชาติ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์. ปริญญานิพนธ์ วท.ม (วิทยาการการประเมิน). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ประคอง กรรณสูต. (2538). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตนะ บัวสนธ์. (2556). การประเมินโครงการ: การวิจัยเชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: คอมแพคปริ๊น.
________. (2556). “รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPPIEST มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและถูกต้องในการใช้,” วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. ปีที่ 5 (2) : 2-9.กรกฎาคม – ธันวาคม.
สมคิด พรมจุ้ย. (2552). เทคนิคการประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จตุพรดีไซน์.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. (2561). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2560. นครศรีธรรมราช: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2.
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561).มาตรฐานและตัวชี้วัดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุพักตร์ พิบูลย์. (2551). ชุดเสริมทักษะการประเมินโครงการ. นนทบุรี: จตุพร ดีไซน์.
สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การประเมินโครงการ: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2551). การประเมินความต้องการจำเป็นในประมวลสาระชุดวิชาการประเมินและการจัดการการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Krejcie, Robert V; & Morgan, Dayle W. (1970, Autumn). Determing Sample Size For Research Activities. Education and Psychological Measurement. 30 (3): 608 - 610.
Stufflebeam, Daniel L. (1971). The Relevance of the CIPP Evaluation Model for Educational Accountability. Atlantic City, N.J.
Stufflebeam, D.L. and W. J. Webster (1989). Evaluation as an Administrative Function, in N.J.
Boyan (Ed), Hand Book of Research on Educational Administration, London: Longman: 569-601.
Stufflebeam and Daniel, (2003). The CIPP model for Evaluation. International Handbook of Educational Evaluation, p.31-62.
Stufflebeam, Daniel L.; and Shinkfield, Anthony J. (2007). Evaluation Theory, Models, & Application, San Francisco: John Wilwy.