ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณฟีนอลลิกรวมของสารสกัดหยาบลูกยอ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดพฤกษทางเคมี ปริมาณฟีนอลิกรวม ปริมาณแทนนินรวมฟลาโวนอยด์รวม และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบลูกยอ โดยนำผลมาทำการสกัดด้วยเอทานอล ทำการวิเคราะห์หาปริมาณฟีนอลิกรวม แทนนินรวม ฟลาโวนอยด์รวม และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบด้วยวิธี DPPH radical scavenging จากการศึกษา พบว่า สารสกัดหยาบเอทานอลของลูกยอพบชนิดสารพฤกษเคมี ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ คูมาริน ซาโปนิน แทนนิน เทอร์ปีนอยด์ และ โฟลบาแทนนิน สารสกัดหยาบเอทานอลของลูกยอมีปริมาณฟีนอลิกรวม ปริมาณแทนนินรวม และ ปริมาณฟลาโวนอยด์ เท่ากับ 98.68±0.02 mg GAE/g, 90.78±0.03 mg TAE/g และ 113.29±0.05 mg QE/g ตามลำดับ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging พบว่าสารสกัดหยาบเอทานอลของลูกยอมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงสุด โดยมีค่า EC50 เท่ากับ 11.93±0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
ณพัฐอร บัวฉุน. (2558). สารต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลิกรวมของสารสกัดจากชะเอมไทย, วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(2), 78-95.
ณพัฐอร บัวฉุน และเยาวนารถ งามนนท์. (2561). การพัฒนาโลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดหยาบชะเอมไทยและพิลังกาสา, วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(2), 74-85.
อัญชนา เจนวิถีสุข. (2544). การตรวจหาและบ่งชี้ชนิดสารต้านอนุมลูอิสระจากผักพืชบ้านและสมุนไพรไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วรพร ศีลศร. (2554). การเตรียมสารสกัดมาตรฐานกล้วยไม้หวายม่วงแดงเพื่อใช้ประโยชน์ทางเครื่องสำอาง, วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
Adriana, M. A., Guimaraes, S. E. F., Pereira, C. S., Lopes, P. S., Rodrigues, M. T., & Machado, T. M. M. (2010). Paternity in Brazilian goats with DNA microsatellites. R Bras Zootec 39, 1011–1014.
Ayoola, G. A., Coker, H. A. B., Adesegun, S. A., Adepoju-Bello, A. A., Obaweya, K., Ezennia, E. C., & Atangbayila, T.O. (2008). Phytochemical screening and antioxidant activities of some selected medicinal plants used for malaria therapy in southwestern Nigeria, Journal of Pharmaceutical Research, 7 (3), 1019–1024.
Bhawna S., & Kumar S.U. (2009). Hepatoprotective activity of some indigenous plants. Int. International Journal of PharmTech Research, 1(4), 1330–1334.
Duduk, B., Paltrinieri, S., Lee, I. M., & Bertaccini, A., (2013). Nested PCR and RFLP analysis based on the 16S rRNA gene. In: Dickinson M, Hodgetts J,eds. Phytoplasma, Methods and Protocols Chapter 14, 159-173.
Koleva, I. I., BeeK, T., Linseen, J. P. H., Groot, A., & Evstatieva, L. N. (2002). Screening of plant extracts for antioxidant activity: a comparative study on three testing methods, Phytochemical Analysis, 13(1), 817-821.
Nayak, B.S., Marshall, J.R., Isitor, G., & Adogwa, A. (2011). Hypoglycemic and Hepatoprotective activity of fermented fruit juice of Morinda citrifolia (Noni) in diabetic rats. Evid Based Complement Alternat Med. Article ID 875293, 5 pages doi:10.1155/2011/875293.
Prommuak, C., D-Eknamkul, W. & Shotipruk, A. (2008). Extraction of flavonoids and carotenoids from Thai silk waste and antioxidant activity of extract, Separation and Purification Technology, 62, 444-448.
Scortichini, M. & Rossi, M. P. (1991). Preliminary in vitro evaluation of the antimicrobial activity of terpenes and terpenoids towards Erwinia amylovora (Burrill) Winslow et al, Journal of Applied Bacteriology, 71(2), 109–112
Sunarni, T., Prastiwi, R. M., Rinanto, Y., Jannah, N. H., & Wardani, W. W. (2012). The combined effect of an extracts of Morinda citrifolia L. Fruits and Carica papaya L. leaves of serum transaminase and bilirubin in antituberculosis–induced rats, International conference: research and application on traditional complementary and alternative medicine in health care (TCAM): June, 22nd -23rd 2012 surakarta indonesia, 174-180.
Tsai, C. C., Chen, H. S., Chen, S. L., Ho, Y. P., Ho, K. Y., & Wu, Y. M.. (2005). Lipid peroxidation: a possible role in the induction and progression of chronic periodontitis, Journal Periodontal, 40, 378–384.