การใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการบรรเทาความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกของผู้สูงอายุ ตำบลมหาดไทย อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการบรรเทาความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกของผู้สูงอายุ ตำบลมหาดไทย อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 15 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า มีการใช้สมุนไพรเดี่ยว จำนวน 10 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน ดีปลี ไพล ทองพันชั่ง มะกรูด สัก ขิง เพชรสังฆาต ยอ และ มะขาม และสมุนไพรตำรับ จำนวน 4 ตำรับ คือ ตำรับน้ำต้มตะไคร้ใบเตย ตำรับสมุนไพรแก้ปวดข้อ ตำรับสมุนไพรไทยโบราณ และยาหม่องรากฟ้าทะลายโจร ผลการวิจัยที่ได้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อบรรเทาความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกของผู้สูงอายุ และจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมสุขภาพต่อไป
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
จันจิรา บิลหลี. (2561). ผลของโปรแกรมบรรเทาอาการปวดเข่าด้วยตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม. วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 1(2), 42-51.
จิราพร เกศพิชญวัฒนา, สุวิณี วิวัฒน์วานิช, อังคณา ศรีสุข, และสหรัฐ เจตมโนรมย์. (2561). คู่มือเรียนรู้เข้าใจ วัยสูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ยืนยงการพิมพ์.
จุลจิรา ธีรชิตกุล, ขนิษฐา นาคะ, และปิยะภรณ์ บุญพัฒน์. (2555). การจัดการอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุที่มีอาชีพกรีดยางพารา. วารสารสภาการพยาบาล, 27(2), 134-147.
ชลาลัย โชคดีศรีจันทร์, ปภัสรา สังข์สุข, ณัฏฐพิชชา คุณสันติพงษ์, ปาริฉัตร วิชัย, ปัญญาพล หนูแม้ม, รัตนาภรณ์ กานกายันต์, ธีวรา แก้วกระจ่าง, นุชธิดา จารุสิทธิกุล, พิชยา กาบขุนทด, ศศิชา เกษะศิริ, สุภาวดี ทะนานทอง, ธนชาติ บุญอ้อม, สุวรัตน์ สุขุมจรัสโรจน์, และณัฐนนท์ เหลากลม. (2562). การ เปรียบประสิทธิผลยาพอกตาระหว่างสูตรยาฟ้าทะลายโจรเดี่ยวและสูตรตํารับในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกระบอกตา. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 3, 15 พฤศจิกายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จังหวัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชูชาติ สุขมาก. (2557). แสมสาร สรรพคุณและประโยชน์ของต้นแสมสาร 23 ข้อ. สืบค้นจาก https://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=49284&filename=ind&nid=49284&filename=ind
ธนกานต์ กิจนิธิประภา, และวรานนท์ อินทรวัฒนา. (2563). ยาน่ารู้: เพชรสังฆาต. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 37(1), 76-78.
นุสรา ประเสริฐศรี, สาวิตรี วงศ์ศรี, และสุกัญญา สระแสง. (2560). ประสบการณ์ความปวดและพฤติกรรมการดูแลตนเองในการจัดการกับความปวดของผู้สูงอายุ. วารสารราชธานีนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพ, 1(1), 33-44.
เนตรนภา พรหมมา, และพรพนา สมจิตร. (2558). การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสําหรับการดูแลสุขภาพตนเองท่ามกลางผู้สูงวัยในตําบลหนึ่งของจังหวัดพะเยา. วารสารนเรศวรพะเยา, 8(2), 96-99.
ปพิชญา ไชยเหี้ยม. (2560). ภูมิปัญญท้องถิ่นกับการใช้สมุนไพร. สืบค้นจาก http://www.sptn.dss.go.th/otopinfo/attachments/article/181/CF89%20(D1).pdf
ปภาวี พรหมสูงวงษ์, สุริยนต์ โคตรชมภู, วิราศิณี อึ้งสำราญ, และธรรมรัตน์ ศรีหะมงคล. (2563). ผลของแผ่นแปะเจลจากสมุนไพรขิงและขมิ้น บรรเทาอาการปวดข้อเข่าในผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11, 27 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จังหวัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
พนธกร เหมะจันทร, ณัชชวรรณ์ รัมมะนพ, และลภาวัน โลหิตไทย. (2562). ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการใช้ยาสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 9(1), 87-100.
พรเทพ ศิริวนารังสรรค์. (2556). ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กินกล้วยน้ำว้าไทย ห่างไกลอัลไซเมอร์. สืบค้นจาก http://hp.anamai.moph.go.th/download/ผู้สูงอายุ/Meeting28_29Nov.2556/28Nov2556/1.กล้วยน้ำว้า.อธิบดีกรมอนามัย.pdf
พนิดา มากนุษย์, และปิยะนันต์ ฝาชัยภูมิ. (2560). สเปรย์สมุนไพรบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ. สืบค้นจาก http://www.sangkhahospital.com/sangkha/administrator/modules/mod_download/img/5_268_12_08_2017_11_12_33_PiyananFachaipoom.pdf
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2544). ลั่นทม. สืบค้นจาก http://www.prachin.ru.ac.th/Webpage/ลั่นทม.htm
วงศ์สถิต ฉั่วกุล. (2553). สมุนไพรพื้นบ้านแก้ปวดเมื่อย. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 5(1), 1-13.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2542). พจนานุกรมสมุนไพรไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น (1977).
วรางคณา ไตรยสุทธิ์, อรุณพร อิฐรัตน์, พัลลภ จักรวิทย์ธํารง, และภูริทัต กนกกังสดาล. (2559). การก่อการระคายเคืองต่อผิวหนังของสารสกัดแอลกอฮอล์ดีปลีในอาสาสมัครสุขภาพดี (งานวิจัยทางคลินิกระยะที่ 1). ธรรมศาสตร์เวชสาร, 16(4), 608-615.
สามารถ ใจเตี้ย, สิวลี รัตนปัญญา, วรรณลักษ์ แสงโสดา, และดารารัตน์ จำเกิด. (2562). การใช้ประโยชน์ สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 38(6), 613-618
สายฝน เอกวรางกูร, นัยนา หนูนิล, อรทัย นนทเภท, และอุษา น่วมเพชร. (2561). การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาล, 67(2), 18-26.
สุนทรี สิงหบุตรา. (2544). สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด. สืบค้นจาก http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/
สำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสุข. (2555). คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ตำราพระโอสถพระนารายณ์). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.
อุษณีย์ วินิจเขตคำนวณ, ศิริวรรณ องค์ไชย, ปรัชญา คงทวีเลิศ, และดำรงณ์ ศานติอาวรณ์. (2552). การพัฒนาการผลิต Bioactive Fractions ที่มีฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ ต้านการสลายเซลล์ข้อเข่าจากการสกัดหยาบของลำไย. สืบค้นจาก https://epms.arda.or.th/src/Research/OldSummaryExSummary.aspx?ID=3568
อำพล บุญเพียร, วรินทร เชิดชูธีรกุล, และสายฝน ตันตะโยธิน. (2561). ประสิทธิผลของการนวดด้วยน้ำมันไพลและน้ำมันปาล์มต่ออาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ในนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 18(1), 17-30.
Banu, J., Varela, E., Bahadur, A. N., Soomro, R., Kazi, N., & Fernandes, G. (2012). Inhibition of bone loss by Cissus quadrangularis in mice: a preliminary report. Journal of Osteoporosis, 2012, 101206.
Garcia, R., Ferreira, J. P., Costa, G., Santos, T., Branco, F., Caramona, M., de Carvalho, R., Dinis, A. M., Batista, M. T., Castel-Branco, M., & Figueiredo, I. V. (2015). Evaluation of anti-inflammatory and analgesic activities of Cymbopogon citratus in vivo-polyphenolscontribution. Research Journal of Medicinal Plant, 9(1), 1-13.
Kuptniratsaikul, V., Thanakhumtorn, S., Chinswangwatanakul, P., Wattanamonsil, L., & Thamlikitkul, V. (2010). Are Curcuma domestica (turmeric) extracts equally effective as ibuprofen for knee osteoarthritis?. Focus on alternative and complementarytherapies, 15(2), 117-118.
Nayeem, N., & Karvekar, M. D. (2012). Effect of plant stages on analgesic and anti-inflammatory activity of the leaves of Tectona grandis. European Journal of Experimental Biology, 2(2), 396-399.
Osman, W. N. W., Tantowi, N. A. C. A., Lau, S. F., & Mohamed, S. (2019). Epicatechin and scopoletin rich Morinda citrifolia (Noni) leaf extract supplementation, mitigated osteoarthritis via anti-inflammatory, anti-oxidative, and anti-protease pathways. Journal of Food Biochemistry, 2019, e12755.
Panthong, A., Supraditaporn, W., Kanjanapothi, D., Taesotikul, T., & Reutrakul V. (2007). Analgesic, anti-inflammatory and venotonic effects of Cissus quadrangularis Linn. Journal of Ethnopharmacology, 110(2), 264-270.