การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์โดยเน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง

Main Article Content

จารุกิตติ์ สายสิงห์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ โดยเน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย เอกสารประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 15 คน  โดยเลือกการสุ่มแบบกลุม สถิติที่ใช้การวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวน


ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ นักศึกษาที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบบรรยายและการฝึกปฏิบัติ พบว่า ระดับคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกัน และ 2) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{X}= 4.79,S.D.=0.57) พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความพึงพอใจระดับมากที่สุดทุกด้าน

Article Details

How to Cite
สายสิงห์ จ. (2020). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์โดยเน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 17(3), 129–137. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/251537
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกัราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานทดสอบทางการศึกษากรมวิชาการ.
จันทนา บรรจงดิษฐ. (2559). การพัฒนาความสามารถภาษาจีนเพื่อการสื่อสารโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
จันทร์เพ็ญ ปัญญโรจน์.(2563). รายงานผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดภูมิภาคในประเทศไทยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 10(2), 149-161.
จารุกิตติ์ สายสิงห์. (2558). ผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนรายวิชาการบริหาสารสนเทศ 2 โดยเน้นรูปแบบฝึกปฏิบัติจริง. The 1st National Conference on Technology and Innovation Management
NCTIM 2015 |RajabhatMahaSarakhamUniversity | MahaSarakham| Thailand | 12–13 May 2015.
ทิศนา แขมมณี. (2542). การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา CIPPA MODEL.วารสารครุศาสตร์, 27(3), 1–17.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550)." การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS". กรุงเทพมหานคร.
บุญชม ศรสีะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่) (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรงุเทพมหานคร.
ปิยนาฏ แก้วสรรค์. (2549). กิจกรรมการเรียนรู้วิชาคริตสาสตร์ เรื่อง คู่อันดับและกราฟ โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ชัยนาท จังหวัดชัยนาท. ศึกษาศาสตร์มหาบันฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พรหมพิริยะ ปินะกาโพธิ์,ณัฏฐชัย จันทชุม,ภูษิต บุญทองเถิง.(2563) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา.วารสารครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.7(1), 83-95.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์. (2547)."ระเบียบวิธีการวิจัย ". กรุงเทพมหานคร.วันเพ็ญ ตั้งจรูญ. (2552). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องคู่อันดับและกราฟโดยใช้โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเซนโยเซฟ บางนา. ศึกษาศาสตร์มหาบันฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สาคร ธรรมศักดิ์, (2541). การสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมแบบร่วมมือที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. [ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.]. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สิรีนาฎ กางโหลน. (2549). การพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการชนิดข้ามกลุ่มสาระ โดยใช้แผนผังความคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเปือยน้อยศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุทธิ กระจะจ่าง. (2551). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่องกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP). สืบค้นจาก http://www.bangsaiy.ac.th/Doc/d1.doc
หวน พินธุพันธ์. (2553). การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: ปฏิรูปการศึกษาที่สำคัญยิ่ง. สืบค้นจาก http://www.moobankru.com
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.(2562). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา(4 ปี)(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562).มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
อัญชนา สายสร้อย. (2550) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเงิน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบซิปปา (CIPPA Model) [วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.