Development of Learning Activities Sets on Dangerous Life-Threatening Drugs Using Inquiry Cycle Together with Graphic Organizer Techniques to Encourage the Analytical Thinking Ability of 8th Graders
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were: 1. To development of sets of learning activities and
2. To study satisfaction of learning activities sets on dangerous life-threatening drugs using inquiry
cycle together with graphic organizer techniques to encourage the analytical thinking ability of 8th
Grade. The sample group used in the research was 1 class of 38 students in the 2nd semester of
academic year 2017 of Municipal School 1 (Sangkhawit), Mueang District, Trang Province.
The research revealed that 1) There are 4 sets of learning activities has an efficiency value
of 87.25/88.82 which was in accordance with the designated 80/80 standard criteria and 2) The
results of using the activity set found that the students of 8th grade had higher learning achievement
after studying on dangerous life-threatening drugs than before studying at a statistical significance of
.01, students had a higher analytical thinking ability after studying with a statistical significance of
.01, and student satisfaction was at the highest level when learning by using the activities sets that
were developed.
Article Details
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
ดารณี พุฒจันทร์หอม. (2558). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวทางการสอนตามวัฎจักรการเรียนรู้ 7Eเรื่อง แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ทิวาร์ ศรนรินทร์. (2558). การเปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้หมวกหกใบกับผังกราฟิก (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, จันทบุรี.
ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ(พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุหลัน เฉียดไธสง. (2557). การพัฒนาชุดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์.
ปนัดดา ปั้นแจ้ง. (2557). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง มหันตภัยจากสารเสพติด กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มานพ สิงห์วี และบัญญัติ ชำนาญกิจ. (2556). ผลการสอนโดยใช้เทคนิคผังกราฟิกประกอบรูปแบบการสอนวิชาฟิสิกส์และความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.
รัศมี พรมไพสณฑ์. (2559). การพัฒนาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องสารในชีวิตประจำวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.
ละมัย วงคำแก้ว. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)ร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ลักขณา อันทะปัญญา. (2556). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก (Graphic Organizer Technique) (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
วิมล ทองผิว. (2556). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้รูปแบบการสอนผังกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี,ปทุมธานี.
ศิริพรรณ คุณพระเนตร. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์โดยใช้วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). ทิศทางและโจทย์วิจัยของการศึกษาไทยเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก. กรุงเทพมหานคร: 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
. (2559). ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทยมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืน นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา). กรุงเทพมหานคร: 21 เซ็นจูรี่.จำกัด.
สิโรฒน์ บุญเลิศ. (2555). ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน5Eร่วมกับกลวิธีการสะท้อนอภิปัญญาที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมโนมติทางวิทยาศาสตร์และอภิปัญญาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.
อนุพร ทิพย์สิงห์. (2559). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายของเราโดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเทคนิคหมวก 6 ใบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.
อรัญญา ประสารกลาง. (2555). การใช้ชุดการเรียนเรื่องความปลอดภัยในชีวิตโดยใช้สื่อหลากหลายสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. สืบค้นจาก http://www.kroobannok.com/blog/54717
Ausubel, D. P. (1968). Education phychology : A cognitive view. New York: Rinehart and Winston.
Buzan, T., and Buzan, B. (1997). The mind map book : Radiant thinking. London: BBC Book.
Farkas, R. D. (2002). The effects of traditional learning and a learning cycle inquiry learning strategy on students’ science achievement and attitudes toward elementary science.The Journal of Educational Research, 97(1), 42-51. doi: 10.1080/00220670309596627
Lumpkin, C. R. (1990). Effects of teaching critical skill on the critical thinking ability, achievement,and retention of social studies content by fifth and sixth graders (fifth graders) (Unpublished Doctoral Dissertation). Auburn University, USA.
Ergin, I., Kanli, U., and Unsal, Y. (1972). An example for the effect of 5E model on the academic success and attitude levels of students : “Inclined Projectile Motion”.Journal of TURKISH SCIENCE EDUCATION, 5(3), 47-59.
Vivas, D. A. (1985, September). The design and evalution of a course in “Thinking operations” for first graders in venezuela. Dissertation Abstracts International, 46(3), 603–A.