Effects of Problem-based Learning Management on Mathematics Problem Solving Ability and Achievement for Mathayomsuksa 1 Students.

Main Article Content

Nipaphon Buttrama

Abstract

The purpose of this research was to study and compare problem-solving abilities and Mathematics learning achievement between two student groups: those studying in a problem-based management program and normal program.  The 75 percent criteria is used as the standard for comparison. The study sample consisted of 52 Mathayomsuksa 1 students from Hinngompithayakom school. The sample group was chosen by purposive sampling. The research instruments were 1) the problem-based learning management and the normal learning lesson plans 2) the problem-solving abilities test 3) the learning achievement test


The result showed that the problem-solving abilities pretest scores of problem-based management program and normal program are 31.15% and 30.77% respectively. Whereas the posttest scores between two groups are 80.19% and 70.29% respectively.  In the case of the learning achievement test, pretest scores of problem-based management program and normal program are 38.85% and 39.23% respectively. Whereas the posttest scores between two groups are 80.38% and 69.74% respectively.  With the 75 percent criteria, it was shown that the student in the problem-based management program gained a higher performance score than the controlled group.

Article Details

How to Cite
Buttrama, N. . (2022). Effects of Problem-based Learning Management on Mathematics Problem Solving Ability and Achievement for Mathayomsuksa 1 Students. Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University, 18(3), 209–219. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/254007
Section
Research Articles

References

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและแบบปกติ และเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนหินโงมพิทยาคม จำนวน 52 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้วิจัยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและแบบปกติ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถใน การแก้ปัญหา และ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติมีความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 31.15 และ 30.77 ตามลำดับส่วนหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 80.19 และ 70.29 ตามลำดับ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 38.85 และ 39.23 ตามลำดับ ส่วนหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 80.38 และ 69.74 ตามลำดับ และเมื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มปรากฎว่ากลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่ากลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75