The Development of Problem-Based Learning Activities to Promote Science Process Skills of Grade 1 Students
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were: 1) to compare learning achievement with the 80 percent criteria and 2) to study science process skills. The research instruments were: 1) 6 problem-based learning management plans, 2) 30 items of three multiple-choices achievement test and 3) 30 items of subjective test on science process skill. The data analysis statistics included mean, standard deviation, percentage and dependent sample t-test.
The results of the study on development of problem-based learning activities to promote science process skills of grade 1 students were as follows: 1) Learning achievement of the grade 1 students who learned with problem-based learning management on “Things Around Us” was higher than the 80 percent criteria at statistically significant of .05 level and 2) Grade 1 students who learned with problem-based learning on “Things Around Us” had increased basic science process skills including observation skills, inferring skill and classifying skill.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
เกียรติศักดิ์ รักษาพล. (2563). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยวิธีการสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5Es). วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 6(6), 199-212.
เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์. (2556). การสอนให้คิดและสร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24(1), 1-15.
ฑิตฐิตา รัตนะวรรณ์. (2565). การพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์. วารสารวิชาการครุศาสตร์ สวนสุนันทา, 6(1), 22-32.
ไพศาล วรคำ. (2558). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 12). ตักสิลาการพิมพ์.
ศิริลักษณ์ วิทยา. (2555). ชุดพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2555). การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สาวิตรี พรหมบึงลำ. (2564). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. เซ็นจูรี่.
สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). รายงานการวิจัยการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้สอน. โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
อุทัยวรรณ ปันคำ. (2563). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระดับพื้นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนประถมศึกษาในตำบลสันต้นมื้อ จังหวัดเชียงใหม่, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 31(2), 123-136.