The Results of Knowledge and Skill Development on Research Literature Review Using Skill Training Package for Students in Bachelor of Education Program in Ang Thong College of Dramatics Art
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to 1) investigate the knowledge and skill development on research literature review and 2) compare the knowledge and skill development on research literature review of using a skill training package and the conventional method and 3) investigate the persistence of knowledge and skill development on research literature review from the skill training package. This research used a randomized control group pretest-posttest design. The sample groups were 34 undergraduate students who registered in research for learning course in the second semester of academic year 2022 at Ang Thong College of Dramatic Arts. The research instruments were lesson plans, a skill training package on research literature review, a knowledge test and a research literature review skill test. The data analysis statistics were percentage of relative development, Hotelling T2 and Dependent t-test.
The results of the research were as follows: 1. The students’ knowledge development was between medium to highest level (36.36%-100%) and the research literature review skill development was between high to highest level (54.55%-100%). 2. The knowledge and skill on research literature review of using the skill training package was significantly higher than the conventional method at .01 level of significant. and 3. The persistence of knowledge and skill development on research literature review from the skill training package was still after two weeks.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
ณัฐนันท์ สีดาแก้ว, ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิลัน, สุวรรณวัฒน์ เทียนยุทธกุล และสุริยาวุธ สุวรรณบุบผา. (2560). การพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูลเพื่อการตั้งโจทย์วิจัยในกระบวนการพัฒนาทักษะการวิจัยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(3), 518–534.
ณัฐนิรันดร์ ปอศิริ. (2565). การพัฒนาทักษะการกำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี วิทยาลัยนาฎศิลปอ่างทอง. วารสารวิชาการและวิจัยสังคม, 17(2), 47-61.
ทิศนา แขมณี. (2562). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 23). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิไล จันทินมาธร, สุรชัย ปิยานุกูล และวันทนีย์ นามสวัสดิ์. (2564). ผลการใช้แบบฝึกทักษะและกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านและเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารมนุษยสังคมสาร, 19(2), 163-184.
พิมล วิเศษสังข์. (2562). การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเองเรื่องการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับนักศึกษาครู ระดับปริญญาตรี. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
พิมพ์ปวีณ์ สุวรรณโณ และศุภลักษณ์ สินธนา. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการวิจัยของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา, 13(1), 160-170.
ไพศาล วรคำ. (2561). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 9). ตักสิลาการพิมพ์.
ภัทราพร เกษสังข์. (2563). การพัฒนาทักษะการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยใช้การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14(2), 39-48.
ภัทราพร เกษสังข์. (2565). การพัฒนาทักษะการเขียนบทนำการวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยใช้การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 16(1), 16-22.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. (2562). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง.
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. (2562). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง.
สมนึก ภัททิยธนี. (2560). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 11). ประสานการพิมพ์.
สุคนธ์ สินธพานนท์ (2561). นวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัชญา สวัสดิ์โยธิน. (2562). ประสิทธิผลและความคงทนในการเรียนรู้ ประโยคเพื่อการสื่อสารภาษาจีน ด้วยการใช้เพลง และการสอนแบบปกติ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25(2). 270-281.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2560). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 19). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อพันตรี พูลพุทธา. (2562). การเปรียบเทียบทักษะการสร้างเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ ทักษะการทำงานเป็นทีมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาของนิสิตระหว่างการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกประกอบการจัดการเรียนรู้กับกลุ่มร่วมมือแบบ LT กับการสอนแบบกลุ่มปกติ. วารสารวิชาการ เครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 9(2), 107-120.
Dewey, J. (1986). Experience and education. The Educational Forum, 50(3), 241-252. DOI: https://doi.org/10.1080/00131728609335764.
Gokhale, A, A. (1995). Collaborative Learning Enhances Critical Thinking. Journal of Technology Education, 7(1). 22-30. DOI: https://doi.org/10.21061/jte.v7i1.a.2.
Randolph, J. (2009). A Guide t A Guide to Writing the Disser riting the Dissertation Liter tation Literature Review. Practical Assessment, Research, and Evauation. 14, Article 13 DOI: https://doi.org/10.7275/b0az-8t74.
Letrud, K. (2012). A rebuttal of NTL Institute’s learning pyramid. Education, 133, 117-124. https://www.researchgate.net/publication/285798853