The Development Guidelines for School Administrators’ Innovative Leadership, The Educational Service area Office in Roi Et Province
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to: 1) study the current state, the desirable state, and the school administrations innovative leadership priority needs index, 2) study the guidelines for school administrators’ innovative leadership. The sample of the research consited of 372 school administrators and teachers, the sample used the Krejcie and Morgan Table. The key informants were 5 educational administration innovation experts. The research tools were a questionnaire on current state reliability as 0.96, desirable state reliability as 0.98, and structured interviews. The statistics used mean, standard deviation, and priority needs index.
The results of this study found that: 1) The overall and individual current state were at a moderate level, the overall and individual desirable state were at the highest level, and their priority needs index was at the highest level in the innovative vision aspect, 2) There were 42 items of innovative leadership guidelines. Acording to the innovative leadership guideline manual curriculum was developed, it consisted of 5 elements: principles, objectives, content, improvement activities, and measurement and evaluation. The overall for the development guidelines manual asessment was at the suitability and possibility highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
ฐิตินันท์ นันทะศรี. (2563). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต], มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
เดชา ลุนาวงค์. (2564). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาตะวันออกเฉียงเหนือ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต], มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
นครินทร์ วนกิจไพบูลย์. (2562). จุลินทรีย์แห่งความสำเร็จ. อะบุ๊ก.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. สุวีริยาสาส์น.
พีรดนย์ จัตุรัส. (2561). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สาธร ทรัพย์รวงทอง. (2566). รูปแบบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยวิชาการ, 6(3), 309-324.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 3). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด. (2565). รายงานผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2562-2565. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ฮะฟีซุดดีน เจะมุ และ วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2564). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารอาชีวศึกษา จังหวัดปัตตานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 3(2), 65-89.
Deschamps, J. P., & Nelson, B. (2014). Innovation governance: How top management organizes and mobilizes for innovation. John Wiley & Sons.
Horth, D.M. and Vehar, J. (2014). Becoming a Leader Who Fosters Innovation. Center for Creative Leadership : All rights reserved.
Kotter, J.P. (1990). A force for change : How leadership differs from management. New York : Free Press.
Wooi, S.C. (2013). The moderating effect of long-term orientation on the timing and types of rewards. Managing Service Quality. An International Journal, 23(3), 225-244.