The KWL-Plus Learning Management to Enhance English Reading Comprehension of Grade Seven Students
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to: 1) develop a KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension of grade seven students to achieve efficiency criteria of 75/75, 2) compare learning achievement of grade seven students, before and after the KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension and 3) study the satisfaction of grade seven students on the KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension. The sample group consisted of 40 grade seven students in the second semester of the 2023 academic year at Sarakhampittayakhom School in Mahasarakham Province. The research instruments were: 1) lesson plans of KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension, 2) an English reading comprehension test and 3) a student satisfaction questionnaire on KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension. Data analysis statistics included mean, standard deviation, percentage, and paired t-tests.
The findings revealed that: 1) the KWL-Plus learning management to enhance English reading comprehension had efficiency value of 87.89/83.42, which was higher than the predetermined criteria, 2) the students in the KWL-Plus learning management had learning achievements after the learning statistically higher than before the learning at .05 level of significant and 3) the overall students’ satisfaction with the KWL-Plus learning management was rated at the highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
กชพร จันคามิ และ นพคุณ คุณาชีวะ. (2564). การเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. The New Viridian Journal of Arts Humanities and Social Sciences, 1(3), 1-13.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กานต์พิชชา มะโน. (2563). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษาร่วมกับเทคนิคการสอนแบบ KWL PLUS วิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านจับใจความ ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศิลปากร.
งานประกันคุณภาพการศึกษา. (2565). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสารคามพิทยาคม. https://www.spk.ac.th/home/news/sar65/
จามจุรี ทุมแก้ว, บรรจง บุรินประโคน และ จำรัส สุขแป. (2566). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ KWL Plus สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวาปีปทุม. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 8(2), 52-64.
ณัฐนันท์ โม้พิมพ์ และ อัฐพล อินต๊ะเสนา. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบ KWL-Plus ที่มีต่อความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 11(2), 687-701.
ธนิตา เผ่าพงศ์ษา. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม [ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปัทวรรณ วัฒนไชย. (2565). การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิค KWL Plus. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(4), 103-116.
พัชรีภรณ์ ทองแท้ และ อนงค์ศิริ วิชลัย. (2566). ประสิทธิผลของเทคนิคเคดับเบิ้ลยูแอล-พลัส (KWL-Plus) ในการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนันทบุรีวิทยา (วัดพระธาตุช้างค้ำ วรวิหาร). วารสาร มมร วิชาการล้านนา, 12(1), 11-22.
ไพศาล วรคำ. (2565). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 13). ตักสิลาการพิมพ์.
มะลิวรรณ สุรานิตย์. (2564). การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิภาวินี พันธุตา. (2566). ผลของการใช้กลยุทธ์การสอนอ่านแบบ Directed Reading Thinking Activity (DA-TA) ร่วมกับเนื้อหาตามบริบทในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พริกหวาน กราฟฟิค.
สุทธินี เมืองมูล. (2564). ผลของการใช้เทคนิค KWL Plus เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 [ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศิลปากร.