The Development of Learning Achievement and Teamwork Skills in Social Studies, Religion and Culture Courses by Organizing Cooperative Learning Activities Using the Learning Together Technique for Prathomsuksa 2 Students
Main Article Content
Abstract
This research aimed to 1) compare learning achievement against the 70 percent criterion, 2) examine teamwork skills and 3) assess the satisfaction of prathomsuksa 2 students on the implementation of collaborative learning activities using the Learning Together technique. The target group involved 13 prathomsuksa 2 students during the second semester of the 2023 academic year from purposive sampling. The four research instruments were utilized: 1) Five learning management plans which were indicated as the highest level of appropriateness, 2) An learning achievement test with Index of item objective congruence is 0.93 and reliability coefficient of 0.72, 3) A teamwork skills assessment with Index of item objective congruence is 0.89 and 4) A satisfaction questionnaire with Index of item objective congruence is 0.75 and reliability coefficient of 0.72. The Data analysis statistics included means, standard deviations and percentages.
The results revealed that: 1) There were 11 students of 13 students, or 76.92 percent met the learning achievement criterion, while another 2 students or 23.08 percent did not, 2) The overall teamwork skills was 95.83 percent, at the very good level and 3) The satisfaction with the collaborative learning activities using the Learning Together technique was rated at the highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จริยา ปัดถาเดช และ อรัญ ซุยกระเดื่อง. (2566). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ มัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 17(1), 55-65.
จินดาหรา นิราศสูงเนิน. (2562). ทักษะการทำงานเป็นทีม โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีสื่อสังคมสนับสนุน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบรบือ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ชรินทร์ มั่งคั่ง และ เตชินี ทิมเจริญ. (2565). การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานเป็นทีมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 16(1), 97-107.
ทิศนา แขมมณี. (2563). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 24). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภศร มิลินทานุช. (2561). การพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีมและจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์(สสวท.) ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือในสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 8. สุวีริยาสาส์น.
ปาณิสรา สายศรี, ธีรภัทร์ ลอยวิรัตน์ และ อรัญ ซุยกระเดื่อง. (2565). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT เรื่อง เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6(4), 282-291.
พระวีระวัฒน์ กตปุญโญ (ใจศล) และ ชวาล ศิริวัฒน์. (2565). การพัฒนาการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านกูน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 3 จังหวัดสุรินทร์. Journal of MCU Humanities Review, 8(1), 91-101.
เพ็ญนภา เพ็งวิสาภาพพงษ์. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมเรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค LT สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], วิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏบุริรัมย์.
รัตนะ บัวสนธ์. (2558). การประเมินโครงการ/การวิจัยเชิงปริมาณ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โรงเรียนบ้านเสือกินวัวโคกน้อย, (2565). รายงานผลการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์. (2545). การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บด้วยการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อการเรียนรู้เป็นทีมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต], จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิทย์ มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. ภาพพิมพ์
อัญชลีพร แซ่ตั้ง และ อรนุช ลิมตศิริ. (2564). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนมัลติมีเดีย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(4), 190-206.
Carol, J., & Faye, S. (1997). The validity of a peer evaluation instrument for team learning and group processes. Accounting Education: A Journal of Theory, Practice, and Research, 2(1), 21-40.
Gibson, J. L., Ivancevich, J. M., & Donnelly, J. H. (2000). Organization: Behavior, Structure, Processes. 10th ed. Boston: McGraw-Hill.
Hughes, H. W., & Townley, A. J. (1994). Cooperative Learning in Graduate Education: A Study of Its Effectiveness in Administrator Training in Two California Universities.