การพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับการใช้ผังกราฟิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Keywords:
English reading comprehension achievement, SQ4R Teaching Method, Graphic OrganizersAbstract
The objectives of this research were to create and develop the efficiency of SQ4R teaching method with Graphic Organizers lesson plans of the fifth grade at the level of 75/75 and to compare English reading comprehension achievement of the fifth grade students by SQ4R teaching method with Graphic Organizers as 75 percent criterion. The target population of the research was 1 room of the fifth grade of the second semester of 2020 academic year calculating used purposive sampling. Research methods were used 1) SQ4R teaching method with Graphic Organizers lesson plans for the fifth grade were 10 lesson plans and 2) 20 questions of objective test and subjective test for the fifth grade students. Data were collected by using mean, the standard deviation, E1/E2 and t-test score.
The result showed that the efficiency of SQ4R teaching method with Graphic Organizers lesson plans of the fifth grade was 76.11/84.17 that was higher than the level of 75/75 and English reading comprehension achievement of the fifth grade students by SQ4R teaching method with Graphic Organizers was higher than the criteria at the statistical significance of .05.
References
จรุงจิต จำปานิล. (2562). การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจาก สื่อออนไลน์โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชัชรีย์ บุนนาค. (2561). ปัญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยและข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปี 2564 – 2568. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 2“GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018” สืบค้นเมื่อ 26 กันยายน 2563. จาก http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/miniconference/article/view/1716.
ธิดา บู่สามสาย. (2559). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบ SQ4R โดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น. Veridian E-Journal. 9(3): 191-04.
ธีรนันทน์ ไกรเลิศ. (2560). “ผังกราฟิก (Graphic Organizers)” กับการพัฒนาความสามารถด้านการคิด. สืบค้นเมื่อ 26 กันยายน 2563. จาก http://www.kbtc.ac.th/KM/files/14031410101928989_18070414140346.pdf.
นันทิยา ประจันทร์เสน. (2561). ผลของการสอนอ่านโดยใช้ผังกราฟิกที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
พรประภา อั๋นดอนกลอย. (2559). ผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มันทนา อุตทอง. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R เพื่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ. หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2562). ค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบ O-NET ป.6. สืบค้นเมื่อ 26 กันยายน 2563. จาก https://www.niets.or.th/uploads/editor/files/Download/คะแนนสถิติระดับประเทศ%20ป.6.pdf.
สิตรา ศรีเหรา. (2561). การพัฒนาความสามารถทางการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 4 โดยใช้กิจกรรมการอ่านแบบกว้าง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อดิศยา ปรางทอง. (2560). การพัฒนากิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค SQ4R เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับวัยรุ่น. การค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อำไพพรรณ สวนสอน. (2559). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน.มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Mark Wise and Carl Cooper. (2019). Increasing the Value of Graphic. Retrieved September 26, 2020. From https://www.edutopia.org/article/increasing-value- graphic-organizers.