การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ วิถีสังคมพหุวัฒนธรรม จังหวัดยะลา

Main Article Content

ธวัชชัย สุนทรนนท์

Abstract

          This study is a descriptive research study with the objective of studying factors related to depression among the elderly in a multicultural society in Yala Province. Members of the Elderly Club in the Cultural Society in Kota Bharu Sub-district, Raman District, Yala Province, 95 people, questionnaire tool Confidence was determined by Cronbach's alpha coefficient method, which was equal to.88. The data was analyzed by a ready-made computer program. The statistics used were percentage, mean, and standard deviation. The relationship was analyzed using Pearson's correlation coefficient statistic.


          The results showed that most of the samples were female, 70.5% aged 60-70 years, 62.1% followed by 71-80 years, and 24.2% average age was 70.37 years old. Most of the monthly income was less than 1500 baht, or 37.9% of the average income per month. Buddhists make up 56.8% of the population, while Muslims make up 43.2%; married people make up 52.6% of the population.

Article Details

How to Cite
สุนทรนนท์ ธ. . (2024). การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ วิถีสังคมพหุวัฒนธรรม จังหวัดยะลา. Journal of Buddhist Education and Research, 9(4), 233–241. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jber/article/view/271625
Section
Research Article

References

กัตติกา ธนะขว้าง วันทนา ถิ่นกาญจน์ รวมพร คงกำเนิด. (2558). การวิจัยเรื่อง “ภาวะซึมเศร้าใน ผู้สูงอายโรคเบาหวานในประเทศไทย. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

กระทรวงสาธารณสุข. (2564). สถิติสาธารณสุขสาธารณสุข 3 ปีย้อนหลัง 2562-2554. ยะลา:

ฝ่ายยุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา.

นภา พวงรอด. (2558). การศึกษาภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี. นราธิวาส: มหาวิทยาลนราธิวาสราชนครินทร์.

พัชรา ภัณฑ์ไชยสังข์, สิริกร สุธวัชณัฐชา, ปริมวิชญา อินต๊ะกัน, สายใจ ลิชนะเธียร. (2556). ปัจจัย ทำนายภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ในเขตเมือง. Journal of Nursing and Education, 6(1), 27-37.

สายพิณ ยอดกุล และจิตภินันท์ ศรีจักรโคตร. (2555). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรค เรื้อรังที่เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลบุรีรัมย์. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 30(3), 50-55.

อภิญญา วงศ์ใหม่. (2560). การศึกษาความชุกและปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของ ผู้สูงอายุในเขต เทศบาลตำบลแม่วัง อำเภอแม่วัง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

อัสมี รามะเก, จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส, ชนัดดา แนบเกษร. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในพื้นที่เหตุการณ์รุนแรงจังหวัด ปัตตานี. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(1), 101-112.