การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ M-Learning สำหรับวิชา ภาษาอังกฤษ

Main Article Content

ชนาธิป ใบยา
อริญชยา บุญประสาน
บุญรัตน์ แผลงศร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ M-Learning สำหรับวิชาภาษาอังกฤษ สาระสำคัญของบทความคือ 1) ความหมายของ M-Learning 2) องค์ประกอบของ M-Learning ได้แก่ ผู้เรียน อุปกรณ์ไร้สายแบบพกพา สื่อ และการประเมินผล ซึ่งเป็นข้อควรตระหนักที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบการจัดการเรียนรู้บน M-Learning 3) การออกแบบ M-Learning สำหรับวิชาภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ (1) การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการออกแบบในส่วนของขอบเขตเนื้อหา กิจกรรม วิธีการวัดประเมินผล และสื่อ (2) การออกแบบเชิงทัศนะ เป็นการออกแบบรูปแบบของหน้าจอ เช่น การใช้สี การใช้ตัวอักษร รูปภาพที่นำมาใช้ เพื่อให้มีความน่าสนใจและเหมาะสมกับอุปกรณ์ 4) ข้อดีและข้อจำกัดของ M-Learning ด้านผู้เรียน ผู้สอน อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนด้วย M-Learning และ 5) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ M-Learning สำหรับวิชาภาษาอังกฤษ โดยมีตัวอย่างแนวทางการนำไปใช้งานแบ่งตามระดับการศึกษา คือ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา และระดับมหาวิทยาลัย ทำให้สามารถเลือกแนวทางการนำไปใช้ ขอบข่ายเนื้อหา ให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน และทำให้การจัดการเรียนรู้ด้วย M-Learning ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Abdi, S., & Makiabadi, H. (2019). Learning english listening and speaking through BBC VOA podcasts: an app review. The Journal of Teaching English with Technology, 19(2), 101-108. Retrieved from https://tewtjournal.org/download/8-learning-english-listening-and-speaking-through-bbc-voa-podcasts-an-app-review-by-samaneh-abdi-and-hossein-makiabadi/

Alwafi, G. A., Almalki, S., Alrougi, M., Meccawy, M., & Meccawy, Z. (2022). A social virtual reality mobile application for learning and practicing english. International Journal of Interactive Mobile Technologies, 16(09), 55-75. doi:10.3991/ijim.v16i09.28289

Chuensombut, S., & Jaengsaengthong, W. (2020). Visual design on mobile learning. Faculty of Humanities and Social Sciences Thepsatri Rajabhat University Jounal, 11(1), 125-134. [in Thai]

Chuensombut, S., & Maneenil, S. (2020). Instructional design on mobile learning. Education and communication Technology Journal, 15(18), 45-58. [in Thai]

Diteeyont, W. (2021). Wireless learning: what, when, where, why & how. Retrieved from https://anyflip.com/khvqw/xnmd/basic/51-92 [in Thai]

Hoober, S., & Brekman, E. (2011). Designing mobile interfaces. Canada: O'Reilly Media.

Khaopueak, A. (2016). The development of educational games on tablet using mneminics to enhance retention english vocabulary for prathom suksa 2 students of Wat Sakae ngam school. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 1416-1431. [in Thai]

Miranda, J. P. P., Dianelo, R. F. B., Yabut, A. M., Paguio, C. A. L., Dela Cruz, A. G., Mangahas, H. W. G., & Malabasco, K. C. (2021). Development of INSVAGRAM: an english subject-verb agreement mobile learning application. International Journal of Emerging Technologies in Learning, 16(19), 219-234. doi:10.3991/ijet.v16i19.24071

National Statistics Office Ministry of Digital Economy and Society. (2022). The 2022 household survey on the use of information and communication technology (Quarter 2). Retrieved from http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านICT/เทคโนโลยีในครัวเรือน/2565/full_report_q2_65.pdf [in Thai]

Sirikunpipat, P., Thaisriharrach, P., Kongtham, A., & Sriyamaka, P. (2021). The development of mobile learning model for Sukhothai Thammathirat open university students. Education and Communication Technology Journal, 16(21), 1-17. [in Thai]

Srisawat, P. (2017). Information technology for teacher. Suphanburi, Thailand: Suphankarnpim. [in Thai]

Tangpondparsert, P. (2020). M-learning: a new mobile learning and teaching method in 21st century. Journal Education Silpakorn University, 18(1), 90-105. [in Thai]