พนมดงรักศึกษา : พื้นที่หลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม

ผู้แต่ง

  • พระธรรมโมลี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พระมหาโชตินิพิฐพนธ์ สุทฺธจิตฺโต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • บัญญัติ สาลี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • วิโรจน์ ทองปลิว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

คำสำคัญ:

พนมดงรัก, ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม, กลุ่มชาติพันธุ์, ชายแดนไทย-กัมพูชา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางด้านภาษาและวัฒนธรรมในพื้นที่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก พื้นที่ที่เลือกนำเสนอได้แก่ชุมชนที่ตั้งอยู่ติดกับเทือกเขาพนมดงรักทั้งฝั่งประเทศไทยและกัมพูชา จากการศึกษาพบว่า เขาพนมดงรักเป็นเทือกเขากั้นแดนระหว่างไทยและกัมพูชา ในพื้นที่บริเวณเทือกเขาพนมดงรักนี้มีกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่หลากหลาย จึงมีความหลากหลายทั้งทางด้านภาษาและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในฟากฝั่งประเทศไทยได้แก่ กลุ่มชาติพันธุ์เขมร ลาว กูย และกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในฟากฝั่งกัมพูชาได้แก่ เขมร ลาว และกูย กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ทั้งสองฟากฝั่งนี้มีการตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของตนเอง กลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดนี้มีความสัมพันธ์ด้านความเป็นเครือญาติและเป็นเพื่อนบ้านไปมาหาสู่กันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หลังจากที่มีการกำหนดเส้นกันแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมก็มีการปรับเปลี่ยนไป

References

เอกสารอ้างอิง
กนกวรรณ มะโนรมย์. (2552).พลวัตเมืองชายแดน: กรณีศึกษาเมืองโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.
ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ฉบับพิเศษ.
กรรณิการ์ สุขสวัสดิ์. (2541). การอพยพย้ายถิ่นของกลุ่มชนส่วยบ้านโพนทอง ตำบลด่าน อำเภอกาบ
เชิง จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2506-2537. มหาสารคาม : วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขา
ไทยคดีศึกษา.
งามพิศ สัตย์สงวน. (2545). วัฒนธรรมข้าวในสังคมไทย : การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลง.
กรุงเทพฯ : บริษัทเท็กซ์ แอนด์ เจอร์ พับลิเคชั่น.
จิตร ภูมิศักดิ์. (2535). ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาว ขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ
ฉบับสมบูรณ์ เพิ่มเติมข้อเท็จจริว่าด้วยชนชาติขอม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สยาม.
________. (2527). สังคมไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยาก่อนสมัยศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.

จักรกริช สังขมณี. (2551). ชายแดนศึกษากับมานุษยวิทยาการค้าข้ามแดน : บทความนำเสนอในการ
สัมมนาเพื่อมุทิตาจิต แด่ศาสตราจารย์ ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ ในโอกาสเกษียณอายุ.
(เอกสารสำเนา).
เดชา ตั้งสีฟ้า. “อ่าน คู่มือราชการ เขียนพื้นที่วัฒนธรรม : วาทกรรมวัฒนธรรมของรัฐไทยกับพื้นที่ใน
ระหว่างไทย-มาเลเซีย” หน้า 282-341. ในแผ่นดินจินตนาการ. กรุงเทพฯ : มติชน
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่าม. (2545).ข้ามพรมแดนกับคำถามเรื่องอัตลักษณ์วัฒนธรรมพื้นที่และความเป็น
ชาติ. วารสารวิชาการ.
. (2647). อัตลักษณ์ชาติพันธุ์และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(องค์การมหาชน),
พฤกษ์ เถาถวิล. (2550). รายงานการวิจัย “วิถีการค้าชายแดน โลกาภิวัตน์ การควบคุม การต่อรอง
กรณีศึกษาการค้าของผู้ค้าขายในพื้นที่พรมแดนไทย-ลาว จังหวัดอุบลราชธานี”.
อุบลราชธานี : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (เอกสารสำเนา)
. (2552).พื้นที่ของการดำรงชีวิตในการค้าชายแดน : เขตแดนรัฐ พื้นที่ในระหว่าง และ
ภูมิศาสตร์แห่งการครอบงำ. ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ฉบับพิเศษ.
ภาควิชาภาษาตะวันออก, คณะโบราณคดี. (2552). ภาษา-จารึก ฉบับที่ 11 สารัตถะจากจารึกและ
วรรณกรรมท้องถิ่น 90 ปี ศาตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร. กรุงเทพฯ.
ยศ สันตสมบัติ. (2544). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
. (2551). อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ : การเมืองวัฒนธรรมของรัฐชาติใน
สังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน).
. (2551). รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจำวัน 1. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(องค์การมหาชน).
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน). (2547). ว่าด้วยแนววทางการศึกษาชาติพันธุ์ / ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน). กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2543). “พื้นที่” ในทฤษฎีสังคมศาสตร์. สังคมศาสตร์ (ม.ช.) ปีที่ 12ฉบับที่ 2.
อมรา พงศษพิชญ์. (2533). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์ : วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Abner Cohen. (1974). Urban Ethnicity. London : Tavistock Publications.
Fredrik Barth. (1969). Ethnic Groups and Boundaries, The Social Organization of
Cultural Difference, Boston : Little Brown and Company.
Thongchai Winichakul. (1994). Siam Mapped : A History of the Geo-Body of a Nation.
Honolulu: University of Hawaii Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30