การพัฒนากฎหมายขายฝากสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • ปองปรัชญ์ เกษาสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
  • กฤษณะ ตู้มุกดากร นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

สัญญาขายฝาก, กู้ยืม, ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน

บทคัดย่อ

การขายฝากถือเป็นทางเลือกหนึ่งในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของประชาชนและธุรกิจขนาดเล็กพระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการทำสัญญาขายฝากที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย พ.ศ.2562 โดยบังคับใช้แยกจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยเพิ่มความช่วยเหลือชาวนา เกษตรกร ให้ได้รับความคุ้มครอง เพื่อการพัฒนากฎหมายควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมต่อไปอย่างยั่งยืน

References

บรรณานุกรม

ปราณี นางแล. (2555). การไถ่ทรัพย์ที่ขายฝาก. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการทำสัญญาขายฝากที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย
พ.ศ.2562.
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2541
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ .

ไชยยศ เหมะรัชตะ. (2528). การแก้ไขความไม่เป็นธรรมในกฎหมายขายฝาก :รายงานการวิจัย.
ภาควิชากฎหมายวิธีพิจารณา และธรรมนูญศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 29
สิงหาคม 2561, จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1795.
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย. (2561). รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ตามมาตรา 77 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชน
ในการทำสัญญาขายฝากที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย พ.ศ. .... (ฉบับคณะกรรมการ
กฤษฎีกา). สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2562, จาก http://www.thailawreform.go.th/th/wp-content/uploads/2018/12/ผลรับฟังความคิดในการทำสัญญาขายฝากที่ดิน.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30