ประเพณีการแห่พระเจ้าหมอของชุมชนโบราณพันปี่ปราสาทช่างปี่บ้านช่างปี่ ตำบลช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
คำสำคัญ:
ประเพณีการแห่, พระเจ้าหมอ, ชุมชนโบราณ, ปราสาทช่างปี่บทคัดย่อ
ประเพณีการแห่พระเจ้าหมอ เป็นประเพณีและวัฒนธรรมโดยเนื้อแท้หรืออัตลักษณ์ของแต่ละเรื่องที่ เป็นปรากฏการณ์ของการดำเนินชีวิตที่เกิดจากการประมวลผลจากการทดสอบและประเมินค่าด้วยประสบการณ์แห่งชีวิตของบรรพบุรุษของกลุ่มชนในสังคมนั้นๆปรากฏการณ์ของอัตลักษณ์ทางสังคมของชาวชุมชนบ้านช่างปี่ มีการจัดประเพณีแห่พระเจ้าหมอและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นวัตถุโบราณในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอริยธรรมขอม ซึ่งเชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก และพิธีกรรมการแห่นี้จัดขึ้นเพื่อการสมโภช การจัดฉลอง และการถวายบูชาด้วยพิธีกรรมบวงสรวงในวาระประจำปี จัดขึ้นเพื่อความเป็นสิริมงคล และเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข และความอุดมสมบูรณ์
References
๑. คัมภีร์พระไตรปิฏกและหนังสือทั่วไป
ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวัฒน์. ไสยศาสตร์” ปรากฏการณ์ของสังคมไทย.ในไสยศาสตร์ครองเมือง.พิทยา ว่องกุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่งจำกัด, ๒๕๕๓.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐.
ประทีป แขรัมย์. พิธีกรรม “มม๊วต” ของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเขมร ศึกษากรณี บ้านตะโกราย
ตำบลนาบัว อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. ศึกษามนุษย์ศาสตร์: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒมหาสารคาม, ๒๕๓๕.
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร). สากลศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฎ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์, ๒๕๔๖.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์.เอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนานิเวศน์วัฒนธรรม ลุ่มน้ำ โขง ชี มูล พื้นที่ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์,บุรีรัมย์, ๒๕๕๓. (อัดสำเนา)
หนังสือภาษาอังกฤษ/ English texts
Y. Ishizawa and Y. Kono.(Eds,). Study and Preservation of Historic Cities of Southeast Asia: Study and Preservation of the Cultural Heritage of Southeast Asia. Tokyo: The Japan Time Ltd, 1986.
Clifford Geertz. The Interpretation of Cultures: Selected Essays. NY: Basic Books, 1973.
Lorne L. Dawson. Cults and New Religious Movements: A Reader. MA: Blackwell Publishing Ltd, 2003.
๒. วิทยานิพนธ์
ยโสธารา ศิริภาประภากร, “วิเคราะห์คำสอนจากพิธีกรรมเข้าทรงที่สัมพันธ์กับหลักธรรมใน พระพุทธศาสนา ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมรในเขตจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์” วิทยานิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต, บัณฑิตศึกษา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณาชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.
๓. สัมภาษณ์
สัมภาษณ์ บุญไทย แซ่จึง, ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒
สัมภาษณ์ สมาน กองแก้ว, ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๒.
สัมภาษณ์ สำราญ แสงงาม, ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๒.
สัมภาษณ์ นายไพฑูรย์ พินิจทรัพย์, ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙
สัมภาษณ์ พระประกอบชัย สุทธิญาโน, ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙
สัมภาษณ์ นายสันชัย สังข์ทอง, ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙.
สัมภาษณ์ พระสมชาย สิริวัฒโก, ๕ มกราคม ๒๕๖๐.