การสอนสังคมศึกษา

ผู้แต่ง

  • พระเอกรัตน์ มหามงฺคโล

คำสำคัญ:

การสอน, สังคมศึกษา

บทคัดย่อ

สังคมที่มีความแตกต่างกันทั้งโครงสร้างของสังคมมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันทั้งในด้านประชากรในสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมรวมไปถึงค่านิยมที่แตกต่างกันด้วยดังนั้นจึงต้องมีการจัดการเรียนรู้เรื่องของสังคมศึกษา ครูในฐานะผู้มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนตรงเพื่อให้เข้าใจเรื่องของสังคมต้องอาศัยหลักสูตรการศึกษาที่มีการจัดทำขึ้นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และต้องหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียนเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสังคมการจัดการเรียนรู้ที่ดีนั้นต้องเน้นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมีประสบการณ์จากการเรียนรู้และหลังจากการจัดการเรียนรู้แล้วสิ่งสุดท้ายคือการวัดผลประเมินผล การวัดผลประเมินผลจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการจัดการเรียนรู้การเพื่อเป็นการวัดความรู้ความเข้าใจจากสิ่งที่ได้มีการจัดการเรียนการสอน

References

บรรณานุกรม
๑. คัมภีร์พระไตรปิฎกและหนังสือทั่วไป
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.๒๕๔๔.
ชนาธิป พรกุล. แคทส์รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔.
ทิวัตถ์ มณีโชติ.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.๒๕๔๙.
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับ ลิสซิ่ง จำกัด.๒๕๕๑.
พระราชกิจจานุเบกษา,(เล่มที่๑๑๖). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๔๒
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. แนวทางการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ), ๒๕๔๕.
สุวิทย์ มูลคำและอรทัยมูลคำ. การเรียนรู้โดยใช้เกม.๑๙ วิธีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, ๒๕๔๕.
ณฐมน เพ็ญแนวคำ. เทคนิควิธีการสอนแนวใหม่ [ออนไลน์].แหล่งที่มา: [๑๑ส.ค. ๖๐]
ความหมายของสังคม-สิ่งแวดล้อม.https://www.gotoknow.org/posts/2177.86[ออนไลน์]. แหล่งที่มา:https://sites.google.com.[๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐].
โครงสร้างทางสังคม. [ ออนไลน์] .แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/30261bambuckk. [๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐].

๒. วิทยานิพนธ์
มนชิดา เรืองรัมย์. “การพัฒนาแบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑”.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.บัณฑิต วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๖.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-02