กฎหมายในมุมมองของพระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
กฎหมาย, มุมมอง, พระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากฎหมายในมุมมองของพระพุทธศาสนากฎระเบียบและแนวทางที่อยู่ร่วมกันกล่าวตามนัยทางสังคมวิทยา เรียกว่า บรรทัดฐานทางสังคมหรือปทัสถานทางสังคมหมายถึงมาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ในกลุ่มยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้แก่กฎระเบียบแบบแผนความประพฤติต่างๆเป็นที่ยอมรับระหว่างสมาชิก จึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มชุมชน สังคมและประเทศชาติตามลำดับต้องสอดคล้องกับกฎธรรมชาติตามนัยแห่งพุทธธรรม ไม่หลงติดในสมมติกฎหมายเป็นการสร้างสังคมที่ดีขึ้นมาเพื่อเป็นสภาพเอื้อให้มนุษย์ได้พัฒนาตนเข้าสู่ชีวิตที่ดีงามการบัญญัติกฎหมายก็จะเน้นการสร้างคนดีเพราะเป็นเครื่องฝึกมนุษย์ให้ขึ้นไปสู่ชีวิตที่ดีงามเมื่อกฎหมายเป็นสิกขาบทคือเป็นเครื่องฝึกตนกฎหมายก็จะเป็นเครื่องมือในการสร้างคนดี โดยอาศัยหลักธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติ
References
๑.คัมภีร์พระไตรปิฏกและหนังสือทั่วไป
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ทรงศิลป์อัมพะเศวต. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชารัฐศาสตร์และ นิติศาสตร์สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, ม.ป.ป.
มานิตย์ จุมปา, “สังคมและความประพฤติ” ใน ‘ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย’. กรุงเทพ
มหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
พุทธทาสภิกขุ. ธรรมะกับการเมือง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เพชรประกาย, ๒๕๔๘.
สมยศ เชื้อไทย. คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไปเล่มที่ ๑ ความรู้กฎหมายทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๔๐.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). นิติศาสตร์แนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เพชรประกาย, ๒๕๕๐.
เรียม ศรีทอง. พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น จำกัด, ๒๕๔๒.
วัชรา คลายนาทร และคณะ. สังคมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช, ๒๕๓๓.
วินัฎฐา แสงสุขและฐิติพร ลิ้มแหลมทอง. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๗.