การสร้างความเปลี่ยนแปลงตามบทบาทภาวะผู้นำ
บทคัดย่อ
ผู้นำเป็นตัวแทนขององค์กรที่มีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ขององค์กรผู้นำเป็นผู้ที่บังคับกำหนดทิศทางไปยังทิศทางที่สังคมต้องการ โดยยกตัวอย่างผู้นำรัฐบาล Can steersocialกับนโยบายอุตสาหกรรมแปรรูป และปัจจัยที่ช่วยให้ความต้องการของสังคมประสบผลสำเร็จนั้นมิใช่อยู่ที่ตัวผู้นำเพียงผู้เดียว หากสัมพันธ์กับผู้ตามที่พวกเขามุ่งมั่นกระทำไป ยังทิศทางเดียวกับผู้นำ ในรูปแบบของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกัน อนึ่งความคิดการนำแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้นำกับผู้ตาม อาศัยการมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์องค์กรร่วมกันในระบบราชการทำได้น้อย โดยเฉพาะความคิดของผู้นำที่ต้องการ เกี่ยวข้องกับชุมชนยังจำกัดอยู่ในวงแคบๆ สังคมต้องการผู้นำที่สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นจากสภาพพื้นฐาน ที่แตกต่างของสังคม ตั้งแต่สังคมขนาดใหญ่จนถึงความแตกต่างของสังคมครอบครัว
References
๑. คัมภีร์พระไตรปิฎกและหนังสือทั่วไป
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต). การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development). พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เรือนแก้ว, ๒๕๔๔.
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. การพัฒนาวิสัยทัศน์ผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท, ๒๕๔๑.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒนะ. ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและปฏิบัติ : ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: วิรัตน์เอ็ด, ๒๕๔๘.
สมยศ นาวีการ. การบริหารและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ผู้จัดการ, ๒๕๔๐.
อานันทะปันยารชุน. ธรรมาภิบาลในภาคธุรกิจ นานาทัศนะว่าด้วยการบริหารกิจการบานเมืองและ สังคมที่ดี. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, ๒๕๔๑.
หนังสือภาษาอังกฤษ/English texts
Kaiser, S. M, Mapping the Learning Organization: Exploring a Model of Organizational Learning, (Louisiana State University, U.S.A.), 2000.