วิเคราะห์แนวคิดเรื่องเสรีภาพของจอห์น ล็อค กับ คาร์ล มาร์ก

ผู้แต่ง

  • พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องเสรีภาพของจอห์น ล็อค ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องเสรีภาพของคาร์ล มาร์ก และ ๓) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดเรื่องเสรีภาพของจอห์น ล็อค กับ คาร์ล มาร์ก จากการศึกษา พบว่านักปรัชญาทั้งสองคนได้พยายามแสวงหาคำตอบเรื่องเสรีภาพให้กับสังคม ซึ่งคำตอบที่ได้จัดว่าเป็นความมุ่งหมายเพื่อความสุขของประชาชนเป็นหลัก ดังนั้น การจะได้มาซึ่งเสรีภาพที่เป็นเหตุแห่งความสุขนั้น จอห์น ล็อค ได้เสนอว่าเสรีภาพคือการมีอิสระในการทำตามใจตน ฝ่ายคาร์ล มาร์ก เสนอว่าเสรีภาพคือการมีอิสระในการกำหนดกรอบการทำงานของตน

References

บรรณานุกรม
๑. ภาษาไทย
กีรติ บุญเจือ. (๒๕๒๒). แก่นปรัชญาปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
กีรติ บุญเจือ. (๒๕๒๘). แก่นปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช.
กีรติ บุญเจือ. (๒๕๓๘). ปรัชญาสำหรับผู้เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช จำกัด.
จำนง ทองประเสริฐ. (๒๕๓๓). ปรัชญาตะวันตก สมัยโบราณ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จำนง ทองประเสริฐ. (๒๕๓๔). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (๒๕๒๒). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย ๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (๒๕๔๐). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๒๔). ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ (ปรัชญากรีก). กรุงเทพฯ : เอส.เอ็ม.เอ็ม.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๓๙). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,
เดือน คำดี. (๒๕๒๒). ปรัชญาตะวันตก. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เดือน คำดี. (๒๕๒๒). ปรัชญาตะวันตก จากยุคโบราณ ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ ม. เกษตรศาสตร์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (๒๕๓๘). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (๒๕๔๕). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระอมรมุนี (สุวรรณ วรฐายี). (๒๕๑๕). แนวปรัชญาตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บรรณาคาร.
ฟื้น ดอกบัว. (๒๕๓๒). ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ฟื้น ดอกบัว แปล. (๒๕๓๓). ศาสนาทั้งหลายนับถืออะไร. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๐). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
ศรัณย์ วงศ์คำจันทร์. (๒๕๓๗). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อมรการพิมพ์.
สุธรรม ชูสัตย์สกุล. (๒๕๔๒). เอกสารบรรยายวิชาอัตถิภาวนิยม. บัณฑิตวิทยาลัย.
สุเชาว์ พลอยชุม. (๒๕๒๓). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุเชาว์ พลอยชุม. (๒๕๒๗). ปรัชญาเบื้องต้น ๒. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (๒๕๔๐). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรพิทยา.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (๒๕๔๐). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๒. ภาษาอังกฤษ
B.A.G. FULLER. (๑๙๘๙). A History of Philosophy. OXFORK & IBH PULISHING CO. PVT. LTD.,
๓. อินเทอร์เน็ต
http://www.marx๒mao.com/PDFs/Lenin%๒๐CW-Vol.%๒๐๑๑.pdf
https://www.marxists.org/archive/marx/works/๑๘๗๗/anti-duhring
http://www.parst.or.th/philospedia/index.html
http://www.buddhistelibrary.org/th/thumbnails.php?album=๑๓๖
http://www.stc.arts.chula.ac.th/WisdomMag/index.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-03