ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต : การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดทางพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พิสุทธิ์พงศ์ เอ็นดู

คำสำคัญ:

การใช้ภาษา, โวหารภาษา, แนวคิดในพระพุทธศาสนา, ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดทางพุทธศาสนาในนวนิยายเรื่อง ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีศึกษาเอกสารตามขั้นตอนคือ ๑) สำรวจและศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดพุทธศาสนาและการใช้โวหารภาษาในวรรณกรรม ๒) ศึกษานวนิยายเรื่องไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ๓) วิเคราะห์การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดพุทธศาสนาในนวนิยายเรื่องไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ตามแนวคิดและทฤษฎีการใช้โวหารของปาริฉัตร พยุงศรี ตามประเด็นเกี่ยวกับบรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร อุปมาโวหาร และ สาธกโวหารและ ๔) เสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์

ผลของการศึกษาพบว่าวีรพร นิติประภานั้นได้ใช้อุปมาโวหารมากที่สุด รองลงมาได้แก่บรรยายโวหาร  พรรณนาโวหาร  และเทศนาโวหารตามลำดับ อย่างไรก็ตามไม่พบว่ามีลักษณะการใช้สาธกโวหารภาษา

References

บรรณานุกรม

กมลทิพย์ กาลพันธ์.(๒๕๕๙). วรรณคดีร้อยแก้วสมัยรัตนโกสินทร์หลังได้รับอิทธิพลตะวันตก
ประเภทบันเทิงคดี (นวนิยาย) ยุคแรก.(ออนไลน์).แหล่งที่มา
http://lms.skru.ac.th/course/info.php?id=712.
กิ่งกาญจน์ สมจิตต์. (๒๕๕๘). ภาษาไทย...วิถีไทย: ซีไรต์. (ออนไลน์).แหล่งที่มา
https://kingkarnk288.wordpress.com/2015/09/10/%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%8C/.
จดหมายข่าวเทวาลัย สานสายใยชาวอักษรฯ. (๒๕๕๘).สรุปเนื้อหาการเสวนาไส้เดือนตาบอดใน
เทวาลัย. (ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.arts.chula.ac.th/dhevalai/doc/dhevalai_year7no30.pdf.
จิระนันท์ อนันต์ไทย.(๒๕๕๗). บทความรายการบ้านเมืองเรา: เรื่องสั้นและนวนิยายไทย.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา http://www.1374.org/5_radio/1_radio_isoc/1_
banmuang/3_text/2557/7_57/10bm.pdf.
ไทยรัฐออนไลน์. (๒๕๕๙).ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต ผลงานวีรพร นิติประภา คว้าซีไรต์ปี ๕๘.
(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.thairath.co.th/content/534156.
ธนกร ชูสุขเสริม. (๒๕๕๙).การวิเคราะห์เรื่องกายกับจิตในปรัชญาพุทธศาสนาเถรวาทและเดส์
การ์ตส์. ออนไลน์) แหล่งที่มา file:///C:/Users/DR%20DAR0/Downloads
/33300441.pdf.
บุญมี แท่นแก้ว.(๒๕๔๓).ญาณวิทยา (ทฤษฎีความรู้). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ปาริฉัตร พยุงศรี. (๒๕๕๔). ภาษาที่นำเสนอแนวคิดพุทธศาสนาของสไบเมือง.วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.
(ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ผู้จัดการรายวัน. (๒๕๕๘).วีรพบ นิติประภา เจ้าของฉายาซีไรต์แนวบ๊อบที่ใครๆก็เข้าถึงง่าย.
(ออนไลน์). แหล่งที่มาhttp://www.manager.co.th/Daily/ ViewNews. aspx? News
ID=9580000121209&Html=1&TabID=3&.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). (๒๕๓๘).พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้ง
ที่ ๙. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(๒๕๔๕).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.
กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พิสุทธิ์พงศ์ เอ็นดู. (๒๕๕๙). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเปรียบเทียบภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
โพสต์ทูเดย์-ข่าวบันเทิง. (๒๕๕๘). ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต คว้าซีไรต์ปี ๕๘.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา http://www.posttoday.com/ent/thai/395408.
นับดาว รัตนสูรย์.(๒๕๕๘).“วีรพร นิติประภา” เจ้าของฉายาซีไรต์แนวบ็อบ ที่ใครๆก็เข้าถึงง่าย.
(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9580000121209.
ราชบัณฑิตยสถาน.(๒๕๔๒).พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ:บริษัท สิริวัฒนา
อินเตอร์ พริ้นท์.
วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี.(๒๕๕๙).นรกภูมิ.(ออนไลน์).แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/.
วีรพร นิติประภา. (๒๕๕๘). ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต. กรุงเทพฯ : มติชน.
ศูนย์สนเทศและหอสมุด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. (๒๕๕๔). หนังสือที่ได้รับรางวัลซีไรต์.
(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.dpu.ac.th/laic/page.php?id=8191.
สถาบันการศึกษาเพื่อสร้างประชาธิปไตย.(๒๕๕๗). ความหมายของคำว่า ลัทธิอนาธิปไตย.
(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://lovedemocracy01.blogspot.com/2014/03/blog-
post_1684.html.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก.(๒๕๕๙). ความว่าง. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา http://www.dharma-gateway.com/monk/preach/somdej/sd-051.htm
สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย. (๒๕๕๘). เก็บตกซีไรต์ ๒๕๕๘ วีรพร นิติ
ประภา ‘ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต’.(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.pubat.or.th/index/pages/News%20Feed/af904c8fb060968b64f8e7588f56f13c.
สารานุกรมฉบับปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป. (๒๕๕๙).พุทธศาสนานิกายเซ็น.(ออนไลน์).แหล่งที่มา
http://www.parst.or.th/philospedia/zen%20buddhism.html.
สำนักศิลปากรที่ ๑๕ ภูเก็ต. (๒๕๕๙). รู้เรื่องวรรณกรรม. (ออนไลน์).แหล่งที่มา
http://www.finearts.go.th/fad15/parameters/km/item/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.html.
อรพรรณ จันทรวงศ์ไพศาล. (๒๕๕๗).ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต วีรพร นิติประภา นิยายรัก"น้ำ
เน่า"บนเงา"ความขัดเเย้ง. (ประชาชาติธุรกิจออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1396865505.
อภิรัตน์ โมทนียชาติ. (๒๕๔๗). การใช้ภาษาเพื่อสื่อจินตภาพในนวนิยายของปิยะพร ศักดิ์เกษม.
วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ASTV ผู้จัดการออนไลน์. (๒๕๕๘). ม้ามืด! นวนิยายไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต โดยวีรพร นิติ
ประภาคว้าซีไรต์ ๕๘. (ออนไลน์).แหล่งที่มาhttp://www.manager.co.th/CelebOn
line/ViewNews.aspx?NewsID=9580000118302.
South East Asian Writers Awards, Created to Honour Asian Writers – Past, Present
and Future. (๒๕๕๕). Past Awardees. (Online). Available http://seawrite.com/?page_id=23.
THAIPUBLICA. (๒๕๕๘).ไส้เดือน “วีรพร นิติประภา”ในเขาวงกต “วรรณกรรม” (๒): ชีวิตคนเขียน หนังสือในวันที่คนเริ่มไม่อ่านหนังสือ.(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://thaipublica.org/2015/12/veeraporn-seawrtie-2/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-03