ชนเผ่าอารยันกับบ่อเกิดและประเภทของความรู้ตะวันออก

ผู้แต่ง

  • ทวีศักดิ์ ทองทิพย์

บทคัดย่อ

ประเภทของอุปมานประมาณ เราได้ทราบมาแล้วว่าอุปมานประมาณ หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากการเปรียบเทียบ การที่เราจะรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เรานำมาเปรียบเทียบกันได้อย่างลึกซึ้งจนสามารถแยกแยะออกมาให้เห็นถึงความเหมือนกัน ความต่างกัน และ ความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งวิธีการหนึ่งที่จะทำให้เรารู้และเข้าใจได้เป็นอย่างดีก็โดยอาศัยการเปรียบ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ง่ายขึ้นในเบื้องต้นจึงสมควรศึกษาประเภทของอุปมานประมาณก่อน ซึ่งเมื่อนำมาจัดแบ่งเราสามารถแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท

References

บรรณานุกรม

กีรติ บุญเจือ. ปรัชญาสำหรับผู้เริ่มเรียน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ๒๕๓๘.
บุญมี แท่นแก้ว และคณะ. ปรัชญาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ๊นติ้งเฮ้าส์. ๒๕๔๔.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ปรัชญากรีกบ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก.พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : ศยาม, ๒๕๕๐.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทย,ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
สมัคร บุราวาส. วิชาปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ ๔.กรุงเทพฯ: สยาม. ๒๕๔๔.
สิริวัฒน์ คำวันสา. พุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ ๒.กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร, ๒๕๔๕.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ – ไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๔.กรุงเทพฯ:
ศักดิโสภาการพิมพ์, ๒๕๔๘.
หอมหวน บัวระภา, “ตรรกศาสตร์: ทฤษฎีความรู้ในพุทธปรัชญา”, ใน คือ มรรคาแห่งปรัชญา, รวบรวมโดย คำแหง วิสุทธางกูล,ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๙.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-03