กำเนิดชีวิตมนุษย์ในทรรศนะพุทธปรัชญา: กรณีอุ้มบุญ

ผู้แต่ง

  • สุชาติ บุษย์ชญานนท์

บทคัดย่อ

ท่ามกลางกระแสสังคมปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงการอุ้มบุญหรือการตั้งครรภ์แทนตามสื่อต่าง ๆเกี่ยวกับการให้กำเนิดบุตรที่มีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการเจริญพันธุ์เพื่อช่วยในมีบุตรยาก แต่ก็มีปัญหาอยู่ว่าการอุ้มบุญหรือการตั้งครรภ์แทนนั้นมีปัญหาซับซ้อนหลายอย่างทั้งในแง่กฎหมายและศีลธรรม เนื่องจากการกระทำดังกล่าวเป็นการกระทำผิดธรรมชาติและการนำมนุษย์มาใช้เป็นเครื่องมือในการผลิตเด็กเพียงเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้า การรับตั้งครรภ์แทนหรือการอุ้มบุญจึงเป็นเสมือนกับการซื้อขายเด็กโดยที่หญิงที่รับตั้งครรภ์แทนต้องการสิ่งแลกเปลี่ยนเป็นค่าตอบแทนจากการรับตั้งครรภ์แทนเท่านั้น การตั้งครรภ์แทนหรือการอุ้มบุญเป็นการให้ชีวิต ๆ หนึ่งเกิดขึ้นจะเป็นบุญหรือเป็นบาปก็ตาม แต่ในที่นี้จะกล่าวเพียงในแง่แนวความคิดขอบนักปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตร์ มองการกำเนิดชีวิตมนุษย์อย่างไร

References

เอกสารอ้างอิง
จารุณี วงศ์ละคร. ผศ. ปรัชญาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๓. เชียงใหม่ : สันติธรรมการพิมพ์. ๒๕๓๙.
จุฬาทิพย์ อุมะวิชนี. ชีวิตและการรู้จักตนเอง. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์. ๒๕๓๙.
จักรกฤษณ์ ควรพจน์และคณะ.การผสมเทียมโดยให้หญิงอื่นตั้งครรภ์แทน. รายงานวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๔๘.
นภาเดช กาญจนะ. ปรัชญาชีวิตยุค IMF ๒๐๐๐ วิถีแห่งอิสรภาพของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ส้อยทอ. ๒๕๔๑.
บรรจบบรรณรุจิ. ปฏิจจสมุปบาทกระบวนธรรมเพื่อความเข้าใจชีวิต.พิมพ์ครั้งที่๓.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. หน้า๑๒๓-๑๓๕.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์.พิมพ์ครั้งที่๑๐.กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอส.อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์จำกัด,๒๕๔๖.
พระมหาอุทัย ภูริเมธี (ขะกิจ) ศึกษาคุณค่าของการเกิดเป็นมนุษย์ในพระพุทธศาสนา.กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๕๒.
พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ศยาม. ๒๕๔๔.
พระอุปติสสเถระ. วิมุตติมรรค. แปลโดยพระเทพโสภณ (ประยูรธมฺมจิตฺโต) และคณะ. พิมพ์ครั้งที่๖กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.๒๕๔๘.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(๒๕๓๙).พระไตรปิฎกภาษาบาลี -ไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิยาลัย เล่มที่ ๑, ๔, ๑๐,๑๑, ๑๒, ๑๓,๑๕ และอรรถกถาและฏีกา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ธรรมนามัย. พิมพ์ที่ครั้งที่๕.กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนน้ำกังการพิมพ์, ๒๕๕๒.
.วิทยาศาสตร์ชีวภาพ.พิมพ์ครั้งที่๔.กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.๒๕๔๔.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊ค-พับลิเคชั่นส์.๒๕๔๒.
วิธาน สุชีวคุปต์. อภิปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ๒๕๔๖.
สถิต วงศ์สวรรค์. ปรัชญาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : อักษรพิทยาพิมพ์. ๒๕๔๓.
Charles H.Kahn.Anaximander. Encyclopedia of Philosophy.Vol.๑ : ๑๘๔.
Elizabeth S. Anderson. Is Women’s Labor a Connodity. Philosophy and Public affairs ๑๙.๑ (Winter ๑๙๙๐) :๗๑.
Kamran S. Moghissi. The Techology of AID and Surrogacy. New Approaches to Human Reproduction : Social and Ethical Dimension. Eds.LindaM.Whiteford and Marilyn L. Poland.Colorado : West view press.Inc. ๑๙๘๙. p.๑๒๙.
W.K.C. Guthrie. Pre-socraticPhilosophy.Encyclopedia of Philosophy.Vol.๗ :๗๖๐
. Encyclopedia of Philosophy.Vol.๗ :๗๖๑. “Just as our soul, which is air, integrates us, so breath and air surround the whole cosmos”.

เอกสารอ้างอิงจากเว็บไซต์
การอุ้มบุญหรืออุ้มบาป.http://www.budnet.org/curveline/2.html สืบค้นเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗
การอุ้มบุญ http://kpch-blog.blogspot.com/2011/06/surrogacy_25.html สืบค้นเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-03