เศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัตน์

ผู้แต่ง

  • พระเรืองเดช โชติธมฺโม เสียงเพราะ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
  • วัชรินทร์ สุทธิศัย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
  • ณรงค์ฤทธิ์ โสภา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

คำสำคัญ:

เศรษฐกิจไทย, โลกาภิวัตน์

บทคัดย่อ

การปรับจุดยืนเพื่อกำหนดทางเดินในรูปของนโยบายนั้นล้วนมีนัยตามแม่แบบการพัฒนาอันเป็นสากล คือ การพัฒนาเพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยใช้องค์กรระดับนานาชาติมาเปิดเจรจาเพื่อให้ประเทศต่างเปิดเสรีทางการค้า เพื่อแลกกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นำความมั่งคั่งสู่ประเทศชาติอั้นเป็นเป้าหมายหลักที่ประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายจะไปให้ถึง แต่เนื่องจากระบบของโลกดังกล่าวเป็นระบบที่มีการแข่งขันอย่างเสรี ความเป็นเสรีนี้เองได้เปิดช่องทางให้ประเทศพัฒนาแล้วแสวงหาโอกาสใหม่ๆ ดังนั้นการปรับจุดยืนบนเส้นทางเดินที่เหมาะสมด้วยฐานคิดเพื่อเป็นองค์ความรู้มาเป็นนโยบายนำพาประเทศสู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมโดยจุดประกายแห่งการพัฒนาโดยการพัฒนาชุมชนในฐานเป็นฐานรากของสังคมให้มีภูมิคุ้มกันทางจิตวิญญาณ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงและองค์ความรู้จากท้องถิ่นสู่ระดับสากล

References

เอกสารอ้างอิง
จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล. (2547). หลักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: พิมพลักษณ์.
ชัยยุทธ์ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์. (2543). เจาะมาตรการแก้วิกฤติเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน.
วอลเดน เบลโล และคณะ. (2542). วิกฤติกระแสโลกาภิวัตน์. กรุงแทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก.
วันทนีย์ ภูมิภัทราคาม และคณะ. (2550). เศรษฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: แม็ทส์ปอยท์.
วิทยากร เชียงกูร. (2545). เศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก. กรุงเทพฯ: สายธาส.
อนุช อาภาภิรม. (2542). ฤาจะสิ้นยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์.
ไสว ด่านชัยวิจิตร. (2545). การเมืองโลกในยุคอาณานิคมแบบใหม่ (โลกาภิวัตน์). จุลสารชุมนุมทางออกไทย. ฉบับที่ 8.ปีที่ 2.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-04