สังคมอุดมคติตามหลักพุทธปรัชญา

ผู้แต่ง

  • พระมหาสากล สุภรเมธี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พระมหาใจสิงห์ เถื่อนศรี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • สงวน หล้าโพนทัน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • สุภาพร ค้าสุกร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • ทองเปลือง อภัยวงศ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

สังคมอุดมคติ,, หลักพุทธปรัชญา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

แนวคิดเรื่องสังคมนิยมในพุทธปรัชญา เริ่มต้นจากพระพุทธเจ้าต้องการล้มเลิกระบบสังคมเดิมและสร้างระบบสังคมใหม่ในอินเดียสมัยพุทธกาล โดยวิธีการที่มรการปฏิเสธระบบวรรณะในสังคมอินเดีย ที่สร้างความเหลื่อมล้ำทางสังคมอย่างชัดเจน โดยมีข้อสังเกตที่เด่นชัด คือ 1) การสร้างหลักพระธรรมวินัยของสงฆ์เพื่อเป็นทางเลือกในการปลดปล่อยตัวเองจากวรรณะต่ำทางสังคมที่ไม่อาจปฏิเสธได้ โดยหลักพระวินัยทั้งหมดจะเน้นความเสมอภาคในทุกด้านของสังคมสงฆ์ 2) การชี้นำมนุษย์ให้เข้าถึงสังคมแห่งพระศรีอริยเมตไตรย์ (นิพพาน) ที่มนุษย์อยู่ได้อย่างสงบสุข ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นดังกล่าวต่างก็เป็นสังคมมนุษย์ที่มีลักษณะการดำเนินชีวิตด้วยความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน

References

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2526). รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
กีรติ บุญเจือ. (2522). สารานุกรมปรัชญา, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิชย์.
ชนิต อยู่โพธิ์. (2494). ภาวะเศรษฐกิจสมัยพุทธกาล, พิมพ์ในงานชาปณกิจศพ นายเพิ่ม อยู่โพธิ์ ณ เมรุวัดพระพิเรนทร์ พระนคร วันที่ 20 พฤษจิกายน พ.ศ. 2494.
เดือน คำดี. (2526). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2542). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พุทธธรรม : ฉบับปรับปรุงและขยายความ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_______. (2519). วัฒนพจน์ของผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม, กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ จัดพิมพ์.
พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ. (2555). ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดปรัชญาการเมืองของคาร์ล มาร์กซ์, สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาธรรมรัตน์ อริยธมฺโม (ยศขุน). (2543). การศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักรัฐศาสตร์ที่มีในพระไตรปิฎก, กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์สุรวัฒน์.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2533). ปรัชญาการเมือง, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
มาลัย กาญจนะ. (2558). แนวคิดเรื่องสังคมนิยมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
_______. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย, กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์.
สมภาร พรมทา. (2539). ปรัชญาสังคมและการเมือง, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลัย กาญจนะ. (2558). แนวคิดเรื่องสังคมนิยมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิญาณวโรรส. (2543). วินัยมุก (เล่ม 2) หลักสูตรนักธรรมชั้นโท, พิมพ์ครั้งที่ 31, กรุงเทพมหานคร : มหามกุฎราชวิทยาลัย.
Peter, Angeles Adam., Dictionary of philosophy, New York : Bames & Nobie Books, 1981.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-23