ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น

ผู้แต่ง

  • ชาญธาดา วิกรมพุฒิธนากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • ประยุทธ ไทยธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คำสำคัญ:

กิจกรรมกลุ่ม, พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ, วัยรุ่น

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรม
เสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 หมู่เรียน รวม 29 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมกลุ่ม
โดยจัดกิจกรรมทั้งหมด 8 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง และแบบวัดพฤติกรรมเสี่ยง
ทางเพศของวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง
มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศต่ำกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และต่ำกว่านักศึกษากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

กรมควบคุมโรค. (2565). กรมควบคุมโรค พยากรณ์โรคฯ ฉบับที่ 5/2565 เตือนประชาชนในช่วง

วาเลนไทน์เสี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น ถ้ามีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน ชวนตรวจสุขภาพทางเพศ. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=23335&deptcode=brc&news_views=283

กรมอนามัย. (2559). คู่มือการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิตในนักเรียนแบบบูรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย.

กระทรวงสาธารณสุข. (2559). องค์ความรู้การดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการสำหรับ

ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager). กรุงเทพฯ: บียอนด์ พับลิสชิ่ง.

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). ช่วงโควิด หญิงไทยท้องไม่พร้อมพุ่ง. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/950886

กองสุขศึกษา. (2561). 10 ปัจจัยเสี่ยงที่วัยรุ่นหญิงควรหลีกเลี่ยง. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก

http://www.hed.go.th/information/file/115

คมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2546). กิจกรรมกลุ่มในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ฐิติพร คล้ายพันธ์. (2538). “ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลศรีบุณยานุสรณ์”. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทิศนา แขมมณี. (2545). กลุ่มสัมพันธ์เพื่อการทํางานและการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ๊ป.

พระจีรศักดิ์ บุญฤทธิ์. (2554). ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิบาท 4 ที่มีต่อพฤติกรรม

ความรับผิดชอบในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรพิมล ช้างเนียม, ณัฐริกา หอมรื่น, ชลธิชา ดัชถุยาวัตร และ พิมลพรรณ ดีมาก. (2562). “พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 20 ธันวาคม 2562,. น. 929-941.

ภาสิต ศิริเทศ. (2561). “การพัฒนาทักษะชีวิตกับการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น”. วารสารพยาบาลทหารบก. 19(ฉบับพิเศษ), น. 10-15.

มณีรัตน์ เทียมหมอก และเกศินี สราญฤทธิชัย. (2560). “การพัฒนาแนวทางการป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นในชุมชน”. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีกรุงเทพ. 33(3): 38-46.

เมตตา จองวรรณศิริ. (2549). “ประสิทธิผลของกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ สตรีวิทยาพุทธมณฑล กรุงเทพมหานคร”. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิมลรัตน์ ชวดพงษ์. (2556). “ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมารดาดรุณีรักษ์ จังหวัดนครราชสีมา”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

สายฝน เอกวรางกูร. (2556). “พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของ”. วารสารเกื้อการุณย์. 20(2): 16-26.

สุพัตรา พรหมเรนทร์. (2550). “พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร”. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุภาพร พรมสา. (2550). “ผลของกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาการแสดงความมีน้ำใจต่อเพื่อนของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนเฉลิมมณีฉายวิทยาคาร จังหวัดสมุทรปราการ”. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อาภาพร เผ่าวัฒนา. (2552). การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น: การมีส่วนร่วมของครอบครัวโรงเรียนและชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Bandura, A. (1977). Social Learning Theory. New Jersey: Prentice-Hall.

Weiss, M. R. (1995). The Provisions of Social Relationships. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23