ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยด้วยการเรียนแบบกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน
คำสำคัญ:
ความสามรถด้านการพูด, อุปสรรคต่อการเรียนการพูด, การเรียนแบบกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมบทคัดย่อ
บทความนี้ผู้เขียนได้กำหนดวัตถุประสงค์เอาไว้ 3 ประการ คือ 1) เพื่อนำเสนอความสำคัญของภาษาอังกฤษที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันในยุคปัจจุบัน 2) เพื่อนำเสนอปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยในปัจจุบัน และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยในปัจจุบันโดยใช้วิธีการกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาษาอังกฤษมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบันที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน 2) ปัญหาและ อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนาความสามรถด้านการพูดภาษาอังกฤษ ได้แก่ ความไม่ชอบเรียนรายวิชาที่เน้นทักษะการพูดภาษาอังกฤษ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมภาษาอังกฤษไม่เพียงพอ การใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาแม่มากเกินไปและการที่ผู้สอนใช้กลวิธีการสอนที่ไม่มีประสิทธิภาพ และ 3) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนทำให้นักเรียนมีทักษะความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษมากขึ้น ผลของการค้นพบนี้มีความสำคัญต่อครูและนักเรียนในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพโดยใช้วิธีสอนแบบกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ
References
Bailey, K. & Savage, L. (1994). New Way in Teaching Speaking. Alexandria, VA :Teachers of English to Speakers of Other Language (TESOL).
Fithria, M. & Ratmanida, R. (2019). “Using ESA for Improving the Speaking Ability of junior High School Students.” Journal of English Language Teaching. 3(6): 10- 15.
Harmer, J. (1998). How to Teach English. England, Wesley : Longman Limited.
Harmer, J. (2002). How to Teach English. 8th ed. Edinburgh : Pearson Education
Limited.
Hassan. (2014). “Communications of the Association for Information System.” College of Education Journal. 34(41): 801-816.
Kaur, A., Young, D. & Kirkpatrick, R. (2016). In English Education Policy in Thailand:
Why the Poor Results? In A. Kaur, D. Young & R. Kirkpatrick (Eds.), English
Language Education Policy in Asia. (pp. 345-361). New York:
Springer.Khamkhien, A. (2010). “Teaching English Speaking and English Speaking
Tests in the Thai Context: A Reflection from Thai Perspective.” English
Language Teaching Journal. 3(1) : 184-200.
Khoshsima, H. & Shokri, H. (2016). “The Effects of ESA Elements on the Speaking
Ability of Intermediate EFL Learners: A Task-based Approach.” Theory and
Practice in Language Studies. 6(5) : 1085-1095.
________. (2017). “Teacher’s Perception of Using ESA Elements in Boosting
Speaking Ability of EFL Learners: A Task-based Approach.” Journal of
Language Teaching and Research. 8(3) : 577-587.
Kirkpatrick, R. (2010). English as an Asian Lingua Franca and the Multilingual
Model of ELT. Cambridge : Cambridge University.
________. (2012). “English Education in Thailand: 2012.” Asian EFL Journal.
: 24-40.
Klimova, B. F. (2011). “Motivation for Learning English at a University
Level.” Procedia-Social and Behavioral Sciences. 15 : 2599-2603.
Ministry of Education. (2001). Teaching English for Elementary Level. Bangkok :
Karnsartsana Press.
________. (2008). The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551(A.D.
. Bangkok : A Cooperative of Agriculture Assemble of Thailand Press.
Muangsurin School Curriculum. (2013). Mini English Program Curriculum of Muangsurin School. Muangsurin School, Surin, Thailand.
Muangsurin School Report. (2018:23-32). Communicative English Course Report of
Muangsurin School. Muangsurin School, Surin, Thailand.
Nunan, D. (1991b). Language Teaching Methodology. Sydney: Macquarie
University Press.
Sudarsono, I. (2015). The ESA to Improve Teaching Speaking on a Job
Interview. New Delhi: SAGE Publication. Ltd.