การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยสู่ความสำเร็จและภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร

ผู้แต่ง

  • พระมหายุทธพิชาญ โยธสาสโน มหาวิทยลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พระครูเกษมอาจารสุนทร มหาวิทยลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พระครูสุธรรมกิจโกศล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พรพิมล โพธิ์ชัยหล้า มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

การบริหาร, ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล, มนุษย์

บทคัดย่อ

ทรัพยากรมนุษย์เป็นผู้สร้างสรรพสิ่งทุกอย่างจนกระทั่งกลายเป็นผลผลิต หรือการบริการตามแต่ละประเภทขององค์การ  ซึ่งนำไปสู่ความสำเร็จและการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์การ  โดยทั่วไปมนุษย์แต่ละคนมีลักษณะหลากหลายแตกต่างกันในด้าน  ความรู้  ทักษะ  ทัศนคติ  ซึ่งจะเป็นองค์ประกอบที่ทำหน้าที่ในการปฏิบัติภารกิจต่างๆ  ให้องค์การบรรลุเป้าหมาย   การดำเนินการให้มนุษย์สามารถสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธิภาพนั้นต้องอาศัยคุณภาพทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ ดังนั้นผู้บริหารองค์การทุกคนสมควรต้องมีความรู้และความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงหลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้สามารถบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพก่อให้เกิดประสิทธิผลแก่องค์การ

References

ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2557). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)

ดนัย เทียนพุฒ . (2555) . การหารทรัพยากรบุคคลสู่ศตวรรษที่21 . พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ: นาโกต้า.

ธงชัย สันติวงษ์ . (2555) . การบริหารค่าจ้างและเงินเดือน : ทฤษฎีและหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการจ่ายค่าตอบแทน. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

ธัญญา ผลอนันต์ . (2556) . การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล : แนวทางสร้างความพึงพอใจแก่พนักงาน. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.

พะยอม วงศ์สารศรี. (2558). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 5 . กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

ภิญโญ สาธร .(2557). หลักการบริหารงานบุคคล . กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

สำนักงาน ก.พ. ม.ป.พ. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล “หลักสูตรเฉพาะทางสำหรับรองรับการทำงานตามระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ (PC Specific)”. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ.

ศิวาพร มัณฑุกานนท์ และคณะ. (2558). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กุลธน ธนาพงศธร,(2559). “ขอบข่ายและวิธีการศึกษานโยบายสาธารณะ”, ใน เอกสารการสอนชุดวิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน, นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Dwivedi R.S..(1985) Management of Human Resources. New Delhi : Oxford & IBH Publishing,

Mondy R. Wayne, Robert M. Noe, and Shane R. Premeaux, (1996). Human Resource

Management. New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Niglo Felix A, (1959). Public Personnel Administration. New York: Henry Holtand

Company

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23