ผลการฝึกด้วยน้ำหนักที่มีต่อความเร็วในระยะ 20 เมตร ของนักกีฬาฟุตซอลชาย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to study the effect of weight training on running speed at 20 meters of male futsal athletes of Rajabhat Maha Sarakham University. The sample was male futsal players of Rajabhat Maha Sarakham University. The age of population was between 18-23 years old, 10 people were selected by purposive sampling, divided into 2 groups of 5 students each. The duration of training was 6 weeks, 3 days per week included every Monday, Wednesday, and Thursday from 5:00 P.M. to 6:00 P.M. The Data were analyzed by mean, standard deviation and the T-value with statistically significant at the .05 level.
The results found that the effect of weight training at 20 meters of the running time, comparing before and after training between the two groups, was statistically significant difference at the .05 level.
In conclusion, the effect of weight training at 20 maters distance was able to develop and increase running speed at the 20 meters of male futsal athlete of Rajabhat Maha Sarakham University.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2550). คู่มือการฝึกเพาะกาย. บริษัท รำไทยเพรส จำกัด.
เจริญ กระบวนรัตน์. (2538). เทคนิคการฝึกความเร็ว. การกีฬาแห่งประเทศไทย.
พันธรพล วัยยากุล. (ม.ป.ป.). สมรรถภาพทางกาย. https://sites.google.com
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิฑูรย์ ยมะสมิต. (2552). ผลการฝึกกล้ามเนื้อต้นขาด้วยน้ำหนักที่มีต่อความแข็งแรงและความเร็วในการวิ่ง 50
เมตร ของนักเรียนเตรียมทหาร ปีการศึกษา 2551 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ยลวรณัฏฐ์ จีรัชตกรณ์. (2562). การตรวจสมรรถภาพร่างกาย (Physical Fitness test). มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศศิพิมพ์ โคตรวงษ์. (2556). สมรรถภาพทางกายของนักกีฬาฟุตซอล. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี.
ศาศวัต ทิพนาค. (2549). ผลการฝึกด้วยน้ำหนักโดยเทคนิคพิระมิคสองรูปเเบบที่มีผลต่อความเข็งแรงของกล้ามเนื้อ
[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Penny. (1971). A Study of the Effects of Resistance Running on Speed, Strength, Power, Muscular Endurance and
Agility. Dissertation Abstracts International, 31(25), 3937-A. http://www.cmruir.cmru.ac.th/bitstream/.