Administrative Factors Affecting Eaching and Learning Management in the Situation of the Coronavirus Covid -19 Epidermic of Shools Under Nakhonphanom Primary Educational Service Area office 2

Main Article Content

Tussanee Uthaisan
Sumalee Sriputtarin
Jaruwan Kheawnamchum

Abstract

The purposes of this research study were: 1) to examine and compare administrative factors of school administrators under Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 2 classified by status and school size, 2) to examine and compare the teaching and learning management in the Coronavirus (COVID-19) pandemic of schools classified by status and school size, and 3) to examine the prediction power of administrative factors affecting teaching and learning management in the Coronavirus (COVID-19) pandemic of schools under Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 2. The samples were school administrators and teachers, totaling 447 people. The research instruments were rating scale questionnaire. The statistics were percentage, mean, standard deviation, t-test (Independent Samples), one-way ANOVA, and multiple regression stepwise. The research found that: 1) overall administrative factors affecting of school were at the high level. In comparison, overall administrative factors affecting of school classified by status no different and classified by school-size, statistically significant different at the .01 level; 2) overall teaching and learning management in the Coronavirus pandemic of schools was at the high level. In comparison, classified by status and school-size no different and 3) there were 5 variables for administrative factors of school administrators affecting the teaching and learning management in the Coronavirus (COVID-19) pandemic of schools. could be predicted up to 65 percent. The equation was written as follows.


        Y' =    .32 + .33X2+ .28X6+ .74X5+ .11X3+ .07X1


        Z' =   .38Z2+ .26Z6+ .19Z5+ .11Z3+.07Z1

Article Details

How to Cite
Uthaisan, T. ., Sriputtarin, S. ., & Kheawnamchum, J. (2022). Administrative Factors Affecting Eaching and Learning Management in the Situation of the Coronavirus Covid -19 Epidermic of Shools Under Nakhonphanom Primary Educational Service Area office 2 . Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University, 19(1), 175–189. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/256462
Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563,18 พฤษภาคม). การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการ ก่อนเปิดภาคเรียน 1

กรกฏาคม 2563. https://moe360.blog/2020/05/08การเตรียมความพร้อม.

กฤตฤณ ปูนอน และจีรนันท วัชรกุล. (2564). การศึกษาองคประกอบสมรรถนะความเปนบุคคลแหงการเรียนรู้

ในยุคดิจิทัล สําหรับผูบริหารโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน

เขต 5.วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 18(3), 139-149.

กลุ่มพัฒนาวิชาการโรคติดต่อ. (2564,31 กรกฎาคม). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).

https://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf.

กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ. (2564,18 พฤษภาคม). การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด

เชื้อไวรัสโคโรนา. 2019 (COVID-19). http://www.sea12.go.th › ict › 3-info-covid-190564.

กันตพัฒน์ มณฑา. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถม

ศึกษากรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต].

https://e-research.siam.edu/kb/factors-effecting-the-quality-of-school-under-the-office-of-bangkok-

primary-education-service-area/.

จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์

บุ๊คพอยท์.

จิรกิติ์ ทองปรีชา. (2563). การบริหารจัดการการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 ระดับมัธยมศึกษา

[การศึกษาค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต].

http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/index.php/abstractData/viewIndex/323.

ทรรศนกร สงครินทร์. (2553). ปัจจัยทางด้านการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน [การศึกษาค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต].

http://www.journal.msu.ac.th/upload/articles/article1926_85599.pdf.

ไทยรัฐ ออนไลน์. (2564, 25 พฤษภาคม). กระทรวงศึกษาธิการเตรียมความพร้อมจัด 5 รูปแบบการเรียนการสอน

ยุคโควิด-19 ป่วนเมือง. https://www.thairath.co.th/news/local/2100016.

ตรีนุช เทียนทอง. (2564, 25 พฤษภาคม). ครม. เห็นชอบปรับร่าง พ.ร.บ.การศึกษาให้ “ครู” เป็นวิชาชีพชั้นสูง.

https://www.thairath.co.th/news/politic/2100787.

นิภาภัทร์ พรหมดนตรี. (2558). ประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามทัศนะของผู้บริหารและครู

อำเภอวังวิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2. [สารนิพนธ์มหาบัณฑิต].

http://mis.sct.ac.th/eResearch/eResearch.cfm?id=16.

พสิษฐ อ่อนอ้าย. (2562). ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. [สารนิพนธ์มหาบัณฑิต].

http://journal.nmc.ac.th/th/admin/Journal/2562Vol9No1_53.pdf.

รักษิต สุทธิพงษ. (2560). กระบวนทัศนใหมทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2),344 – 355.

วันเพ็ญ บุรีสูงเนิน. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่พัฒนาชายฝั่ง

ตะวันออก. [ดุษฏีนิพนธ์]. https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/SU.the.2009.353.

วารุณี ลัภนโชคดี. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลและพัฒนาการของระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกทั้งสามรอบของ สมศ. สำนักพิมพ์สำนักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

วิธิดา พรหมวงศ์. (2563). สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในช่วงการแพร่

ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม

เขต 1. วารสารรัชภาคย์ สถาบันรัชภาคย์, 15(40), 200 – 213.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555) แนวคิด ทฤษฎีและประเด็นเพื่อการบริหาร ทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 8). สำนักพิมพ์

หจก.ทิพยวิสุทธิ์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. (2564, 23 เมษายน).ศูนย์เฉพาะกิจการเรียนการสอน

ทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา.

https://sites.google.com/esdc.go.th/covid19-nkp2.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564, 27 สิงหาคม). สพฐ.ชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอน

และการจ่ายเงินเยียวยานักเรียน. https://www.obec.go.th/archives/482880.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). รายงานการวิจัยและการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาโดยใช้

โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดสงขลา. สำนักพิมพ์พริกหวานกราฟฟิคจำกัด.