The Development of Learning Activities Using STEM Education on Electrostatics to Promote Integrated Science Process Skills and Problem-solving Ability of Grade 11 Students

Main Article Content

Bowaonrak Phonpathom
Paisarn Worakham

Abstract

The purposes of this research were: 1) to development of STEM activity on static electricity to enhance integrated science process skills and problem-solving abilities, 2) to compare the integrated science process skills before and after the STEM Education on static electricity, and 3) to compare the problem-solving ability before and after the STEM Education on static electricity. The research sample group was 42 Grade 11 students from a large school in 2021 academic year. The research instruments were: 1) a STEM lesson plan on static electricity, 2) the subjective integrated science process skills test, and 3) the subjective problem-solving ability test. The data analysis statistics were mean, standard deviation, and Dependent Samples t-test.
 
The research revealed that: 1) the STEM activity on static electricity to enhance integrated science process skills and problem-solving abilities of Grade 11 students was a single lesson plan with 6 steps for 15 hours which was indicated the appropriateness at a high level, 2) the integration science process skills of the students after the STEM education implementation was higher than before the implementation at statistically significant level of .05 and 3) the problem-solving ability of the students after the STEM education implementation was higher than before the implementation at statistically significant level of .05.

Article Details

How to Cite
Phonpathom, B., & Worakham, P. (2024). The Development of Learning Activities Using STEM Education on Electrostatics to Promote Integrated Science Process Skills and Problem-solving Ability of Grade 11 Students. Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University, 21(1), 55–66. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/259334
Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จุฑารัตน์ วรณิต, ปาริชาติ ประเสริฐสังข์ และ สุรชัย รัตนสุข. (2565). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวทางสะเต็มศึกษา. วารสารครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 18(3), 169-178.

ดุสิต ทองสุขนอก และ ณัฐกานต์ ศาสตร์สูงเนิน. (2565) ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเรื่อง โยเกิร์ตข้าว. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 19(84), 128-138.

ธนวรรธณ์ ศรีวิบูลย์รัตน์ และ อังคณา อ่อนธานี (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา เรื่องงานและพลังงาน รายวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(2), 197-207.

บริสุทธิ์ธรรม พิมพ์ศิริ. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism เพื่อส่งเสริมความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปิยะวัจนา โชคสถาพร. (2564). บทบาทหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10), 282-294.

ไพศาล วรคำ. (2562). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 10). ตักสิลาการพิมพ์.

พรทิพย์ สังเกตุ. (2564). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและเจตคติต่อวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

พลศักดิ์ แสงพรมศรี, ประสาท เนืองเฉลิม และ ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและเจตคติต่อการเรียนวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(ฉบับพิเศษ), 401-418.

วิชัดชณา จิตรักศิลป์, ถาดทอง ปานศุภวัชร์ และ นิติธารชูทรัพย์. (2561). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เรื่อง แรง การเคลื่อนที่ และพลังงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน, 10(27), 87-97.

วิภาพร เวียงเงิน. (2566). การจัดการเรียนรู้แบบ STEM EDUCATION เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ในประเพณีไหลแพไฟ จังหวัดอุตรดิตถ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องปริซึม และทรงกระบอก. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ศิริลักษณ์ ชาวลุ่มบัว และ สุนีย์ เหมะประสิทธิ์. (2558). การพัฒนาหลักสูตรตามแนวทางสะเต็มศึกษาเรื่อง อ้อย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(1), 224-236.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2563). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563. https://www.niets.or.th/th/content/view/22429/

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563, 7 มกราคม). ผลการประเมิน PISA 2018 นักเรียนไทยวัย 15 ปี รู้และทำอะไรได้บ้าง. https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2019–48/

สุดารา ทองแหยม, กิตติมา พันธ์พฤกษา และ ธนาวุฒิ ลาตวงษ์. (2566). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(2), 20-36.

สุรสิทธิ์ จิตเรณู. (2561). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวิมล สาสังข์. (2562). ผลการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนประถมศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ก้าวแรก การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL). ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น. เอ. รัตนะเทรดดิ้ง.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

อภิญญา สิงห์โต. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.