การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

พณิดา เตชะผล
สมสงวน ปัสสาโก
กรวี นันทชาด

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังได้รับการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นหลังได้รับการเรียนรู้
โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐาน กลุ่มที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพระปริยัติธรรมฯ วัดศรีนคราราม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โดยการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 10 รูป/คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แผนการการเรียนรู้ โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐาน จำนวน 7 แผน รวม 13 ชั่วโมง และ 2) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 9 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon signed-rank test)


              ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐาน
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
เตชะผล พ. ., ปัสสาโก ส. ., & นันทชาด ก. . (2022). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้การสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับปรากฏการณ์เป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 19(1), 120–130. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edu-rmu/article/view/256456
บท
บทความวิจัย

References

ดุสิตา แดงประเสริฐ. (2549). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการเขียนสรุปความของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สำนักงาน การวิจัยแห่งชาติ (วช.). https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI

ตะวัน ไชยวรรณและกุลธิดา นุกูลธรรม. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพื่อส่งเสริมความรู้ของผู้เรียนในโลกแห่งความจริง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 251-263.

นิรมล ศตวุฒิ. (2560). การพัฒนาหลักสูตร (พิมพ์ครั้งที่ 6). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พงศธร มหาวิจิตร. (2562). การประยุกต์ใช้แนวคิด การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุก ในรายวิชาการประถมศึกษา เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(2), 73-90.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แนวคิด วิธีและเทคนิคการสอน 1. เดอะ มาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.

ไพศาล วรคำ. (2562). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 10). ตักศิลาการพิมพ์.

โรสมาวัน อะลีดิมัน. (2556). ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ในสังคม พหุวัฒนธรรม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ฐานข้อมูลวิจัยจังหวัดชายแดนใต้ คณะวิทยาการสื่อสาร คณะแพทยศาสตร์ และสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

https://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=628

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). รายงานผลการทดสอบระดับชาติ

ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562. http://www.niets.or.th.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางกลุ่มสาระ

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. คุรุสภาลาดพร้าว.

สุวิทย์ มูลคํา. (2550). กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). ภาพพิมพ์.

อนุเบศ ทัศนิยม และสุมาลี ชูกำแพง. (2563). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 7(6), 31-44.

อรพรรณ บุตรกตัญญ. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เพื่อสร้างมุมมองแบบองค์รวมและ การเข้าถึงโลกแห่งความจริงของผู้เรียน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(2), 348-365.

Abruscato, J. (1996). Teaching Children Science: A Discovery Approach. Allyn and Bacon.

Bloom, B. S., Krathwohl, D. R. and Masia, B. B. (1956). Taxonomy of Educational Objectives the Classification of Educational Goals. David McKay

Daehler, K. and Folsom, J. (2016). Making Sense of SCIENCE: Phenomena-Based Learning. http://www.WestEd.org/mss.

Kompa, J. S. (2017). Remembering Prof. Howard Barrows: Notes on Problem-Based Learning and the School of the Future. https://joanakompa.com/tag/phenomenon-based-learning/.