การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีประสิทธิภาพ 75/75 2) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลการจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 3) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โดย การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านกำพี้เหล่ากาเจริญศิลป์ ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดความสามารถ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.78/80.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD คิดเป็นร้อยละ 56.84 3) ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.54 และ S.D. = 0.57)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีประสิทธิภาพ 75/75 2) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลการจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 3) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โดย การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านกำพี้เหล่ากาเจริญศิลป์ ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดความสามารถ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.78/80.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD คิดเป็นร้อยละ 56.84 3) ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.54 และ S.D. = 0.57)
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อกำหนดเบื้องต้นที่ผู้นิพนธ์(ผู้ส่งบทความ) ควรทราบ
1. ผู้นิพนธ์ที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์บทความกับวารสาร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้รูปแบบใหม่ (Template 2563) โดยสามารถดูตัวอย่างได้ที่เมนู GUIDELINES
2. จะตีพิมพ์และเผยแพร่ได้ ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)
3. การประเมินบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) เป็นแบบ Double Blind
4. การอ้างอิงบทความใช้หลักเกณฑ์ APA (American Psychological Association) คลิก
5. บทความถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ ไม่ผ่านการประเมิน ผู้นิพนธ์ขอยกเลิกเองหรือชำระเงินก่อนได้รับการอนุมัติ ทางวารสารไม่มีนโยบายการคืนเงิน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรมวิชาการ.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล แว่วสอน. (2561). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะ
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2561/M127208/Weawsorn%20Naruernol.pdf
บำรุง โตรัตน์. (2547). การพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษโดยโปรแกรม Extensive reading.
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปัทมวรรณ ตระการไทย. (2560). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2560/123755/Trakanthai%20Patamavan.pdf
เยาวนาถ ศรีโสภา. (2560). การพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้
กิจกรรมแบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึก. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2560/123172/Srisopha%20Yaowanat.pdf
โรงเรียนบ้านกำพี้เหล่ากาเจริญศิลป์. (2560). รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านกำพี้เหล่ากาเจริญศิลป์ ประจำปี 2564. โรงเรียนบ้านกำพี้เหล่ากาเจริญศิลป์.
วีรยุทธ จันทร์เหลือง. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. http://khoon.msu.ac.th/_dir/fulltext/fulltextman/
full4/weerayut11177/titlepage.pdf
สุวรรณี ภูลายขาว. (2559). การพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้กิจกรรมการ
แสดงบทบาทสมมติประกอบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.
[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2559/121998/ Poolaikharn%20Suwannee.pdf