รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้, อนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทย, ปาฏิหาริย์นครพนมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม (2) เพื่อพัฒนารูปแบบ (3) เพื่อนำรูปแบบไปใช้ และ (4) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบ การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา (R&D) วิธีการดำเนินการวิจัย ในงานวิจัยนี้มีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 109 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 6 คน และ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 รูป/คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t-test (Dependent)
ผลการวิจัย พบว่า
- ระดับสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม มีองค์ประกอบ ดังนี้ (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) เนื้อหา (4) วิธีการสอน (5) การวัดและประเมินผล
Journal of Buddhist Education and Research : JBER
ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2566
[313]
Vol.9 No.4 October-December 2023
- ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม มีความเหมาะสม ความถูกต้อง ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในการใช้รูปแบบเพื่อการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทย
- คะแนนเฉลี่ยการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
- ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอุ่มเหม้าประชาสรรค์ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม โดยรวม อยู่ในระดับมาก ระดับแบบประเมินคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยเรื่อง ปาฏิหาริย์นครพนม ของนักเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์,
กาญจนชนก ภัทรวนิชานันท์. “การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะหลักเพื่อใช้ประเมินข้าราชการ กรณีศึกษา: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา”. วารสาร บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปภัมภ์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2554): 89-94.
ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์. “กลยุทธ์การจัดการสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่น : ภารกิจของห้องสมุด
จุฑามาศ อนุกูลวรรธกะ ชรินทร์ มั่งคั่ง และแสวง แสนบุตร, “แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองชุมชนต้นแบบในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของ นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย”, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2564): 24.
จุฑามาศ อนุกูลวรรธกะ ชรินทร์ มั่งคั่ง และแสวง แสนบุตร. “แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เฉลิม มลิลา นิติเขตต์ปรีชา. (2559). เทคนิคการสอนประวัติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ทิศนา แขมมี และคณะ. (2559). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,.
Journal of Buddhist Education and Research : JBER
ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2566 [328] Vol.9 No.4 October-December 2023
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. (2552). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน,
เบญญาภา คงมาลัย. (2554). “รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต”. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข. (2561). การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2560). คิดผลิตภาพ: สอนและสร้างได้อย่างไร, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2560). โรงเรียน 4.0: โรงเรียนผลิตภาพ. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต..
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2543). คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ การศาสนา,
วิภาวรรณ พินลา และวิภาดา พินลา. (2561). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง กับ PLC เพื่อการ พัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ และวรวรรณนิมิตพงษ์กุล. (2562). สอนสร้างสรรค์ เรียนสนุกยุค 4.0, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.
สหัทยา พลปัถพี และมูลนิธิพัฒน์, ทฤษฎี Constructionism: การศึกษาในโรงเรียน, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.moe.go.th/moe/upload/news_research [30 กันยายน 2565].
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). แนวการสอนประวัติศาสตร์: ประวัติศาสตร์ไทย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2554). เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลากหลายวิธีเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
Anderson, T. P., “Using models of instruction”, In C. R. Dills and A. J. Romis Zowski (Eds.), (1997), Instructional development paradigms, Englewood Cliffs, (NJ: Education Technology Publications, pp. 521-533.
Joyce, B., Weil, M., & Calhoun, E. (2003). Models of teaching.