วิชาศึกษาทั่วไป: บทบาทและความท้าทายของการจัดการการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
ด้วยสภาวการณ์ปัจจุบันที่สังคมไทยก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ความก้าวหน้าทางสื่อเทคโนโลยี และกระแสสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไป ในบทความนี้มุ่งให้เห็นถึงบทบาทและความสำคัญของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่มีการพิจารณาจากแนวคิดที่พัฒนาการมาสู่ยุคปัจจุบัน จนกระทั่งถึงจุดเปลี่ยนสำคัญที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 นับเป็นบทบาทและความท้าทายใหม่ของแต่ละสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องหาหนทางในการพัฒนาหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปให้ตอบโจทย์ต่อผู้เรียน สถานศึกษา สังคม ตลอดจนประเทศชาติ ในขณะที่ยังคงต้องสามารถธำรงถึงอัตลักษณ์ของสถาบัน เพื่อให้นิสิตนักศึกษายังคงมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสถาบันท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงและการพลิกผันของกระแสสังคม ด้วยการวิเคราะห์ผ่านหลัก SWOT Analysis และพบข้อค้นพบ 5 มิติปัจจัยที่สามารถนำไปฐานความคิดในการพิจารณาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปในอนาคตต่อไป ประกอบไปด้วย 1) มิติด้านความหลากหลายของผู้เรียน 2) มิติด้านความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 3) มิติด้านการปรับตัวของผู้สอน 4) มิติด้านการสร้างการเรียนรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน และ 5) มิติด้านการบริหารจัดการ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ และไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกบทความเพื่อใช้ประโยชน์ทางวิชาการ แต่ให้อ้างอิงข้อมูลแสดงที่มาของบทความทุกครั้งที่นำไปใช้ประโยชน์
References
Bunjongparu, N. (2018). The development of general education curriculum to promote 21st century citizenship skills. Srinakharinwirot Research and Development Journal of Humanities and Social Sciences, 10(20), 70-84. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/10844 [in Thai]
Dulyakasem, A. (2015). General education subject management. Journal of Learning Innovations, 1(1), 43-52. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jliwu/article/view/95045 [in Thai]
Lekhakula, A. (2021). Next normal higher education: challenges. Journal of Education and Innovative Learning, 1(2), 111-125. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jeil/article/view/250971 [in Thai]
Meepradit, K. (2022). General education to create talented and good people in Thai society. In Proceedings of the 17th National and the 7th International Sripatum University Conference: SPUCON2022. Bangkok, Thailand. [in Thai]
Muankid, W., Wongpinpech, P., & Chaotragool, W. (2020). The trend of general education in higher education in the next decade (2015-2025). The Journal of Faculty of Applied Arts, 13(2), 110-122. doi:10.14416/j.faa.2020.24.010 [in Thai]
Promwong, N., & Sriphan, A. (2023). Guidelines for learning management of general education for promoting global citizenship characteristics of undergraduate students in Thai higher educational institutions. Journal of MCU Social Science Review, 12(2), 119-132. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/256491 [in Thai]
Rungwachira, O., Tangwancharoen, S., & Kiatkanon, K. (2021). Management of learning in modern world to enhance the characteristics of the new generation. Journal of UBRU Educational Review, 1(1), 97-106. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JER/article/view/250486 [in Thai]
Thai GE Network Executive Committee. (2014). General education subject framework related to the national framework for higher education 2009 (TQF: HEd) a part of study the national general education standard (Report), Thai GE Network, Bangkok, Thailand. [in Thai]
The commission on Higher Education Standards Announcement. (2022, September 9). Royal Thai Government Gazette. Volume 139 Section 212ngor, 15. [in Thai]