การประยุกต์หลักพุทธธรรมในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจยุคบริโภคนิยม

ผู้แต่ง

  • สุชาติ บุษย์ชญานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

พุทธธรรม, เศรษฐกิจ, บริโภคนิยม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการบริโภคนิยมในพระพุทธศาสนาและการประยุกต์หลักพุทธธรรมในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจยุคบริโภคนิยมข้อมูลได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร(Documentary Research) วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ตามหลักพุทธธรรมในพระพุทธศาสนา

              จากผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการบริโภคนิยมในพระพุทธศาสนาเป็นการบริโภคปัจจัย 4 คือ เสื้อผ้า อาหาร  ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ต้องรู้จักใช้สอยอย่างพอดี พอประมาณ และพอเพียง การประยุกต์หลักพุทธธรรมในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจในยุคบริโภคนิยมด้วยการนำหลักโภชเนมัตตัญญุตา รู้จักประมาณในการบริโภค หลักทิฎฐิธัมมิกถัตประโยชน์ ใช้ในการแก้ปัญหาความฟุ่มเฟือยในปัจจุบัน หลักโภควิภาค และหลักโภคทรัพย์ ช่วยในการแก้ปัญหาการใช้จ่าย

คำสำคัญ : พุทธธรรม, เศรษฐกิจ, บริโภคนิยม

References

เอกสารอ้างอิง
กัลยา กนกกุศลพงศ์. (2547). บริโภคนิยมของเด็ก: ศึกษากรณีความต้องการและการได้มาซึ่งสิ่งของจากพ่อแม่ในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกษม เพ็ญภินันท์ ( ) สู่พรมแดนความรู้ เรื่องวัฒนธรรมบริโภคความเป็นปกติวิสัยของการบริโภควัฒนธรรมในชีวิตประจำวัน
จำนง ทองประเสริฐ. (2533). ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ. พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชมหาวิทยาลัย.
บุญศักดิ์ แสงระวี, (แปลและเรียบเรียง), สัจธรรมของสังคมมนุษยชาติ วัตถุนิยมประวัติศาสตร์, กรุงเทพฯ : หจก.เอมี่ เทรดดิ้ง, 2544 และดูเพิ่มเติมใน http : // www . Marxist .org. เข้าถึงข้อมูลเมื่อ,(8/8/2008)
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (มปป.). วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 2. กรุงเทพฯ มหามกุฏราชวิทยาลัย.
นันทวรรณ แตงน้อง. (2552). ศึกษาการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการบริโภคมาใช้ในสังคมไทยปัจจุบัน. ปทุมธานี : บัณฑิตวิทยาลัย พุทธศาสนามหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเดโช). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.
พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2547). ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัฒน์ สุจำนง. (2541). สังคมกับปัญหาสภาวะแวดล้อม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
พุทธทาส. (2548) . ศีลธรรมกับการแก้ปัญหาสังคม. กรุงเทพฯ : ตถตาพับบิเคชั่น.
ราชบัณฑิตยสถาน (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ พบลิเคชั่นส์.
สมภาร พรมทา. (2538).กิน : มุมมองในพุทธศาสนา. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2546.
สุริชัย หวั่นแก้ว. (2540). การวิจัยเพื่อฟื้นฟูชุมชน : มิติใหม่ของสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์การศึกษาการพัฒนาสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณาสถาอานันท์. (2541) . เงินกับศาสนาเทพยุทธแห่งยุคสมัย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2539). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
อภินันท์ จันตะนี, ทับทิม วงค์ประยูร. (2537). มนุษย์กับเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเศรษฐศาสตร์.
Andrew Arato and EikeGebhardt, Eds, (1978). The Essential Frankfurt School Reader. Oxford : Basil Blackwell.
JonathamCrowther, Editor (1995). Oxford Advanced Learner’s Dictionary. Fifth edition, England : Oxford University Press.
Vielo, Frank Robert, (1987) Cultural Anthropology Handbook. New York :McGrawHill.
Wilkie.William L. (7990) Consumer Behavior. New York: John Wiley&Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30