ศึกษาผลงานและปรัชญาของนักคิดสำคัญในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน

ผู้แต่ง

  • พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม
  • พระธนสาร ธีรปญฺโญ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม
  • เขมิกา ต่างจิตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม
  • สิรินาท เจริญศิริ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม
  • สุวรรณี จันแบบ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม
  • มนัสวี ศรีนนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

ศึกษา, ผลงานและปรัชญา, นักคิดสำคัญ

บทคัดย่อ

มหายานเป็นนิกายของภิกษุฝ่ายเหนือของอินเดียเรียกว่า “อุตรนิกาย” บ้าง “อาจารยวาท” บ้าง เป็นนิกายที่มีการปรับปรุงคำสอนในพระพุทธศาสนาเป็นไปตามลำดับ “มหายาน” แปลว่า “ยานใหญ่” เป็นนิกายที่เจริญรุ่งเรืองอยู่ในประเทศทิเบต จีน มองโกเลีย ญี่ปุ่น เกาหลี และเวียดนาม     ส่วนผลงานและปรัชญาของนักคิดสำคัญในพุทธศาสนานิกายมหายานมีจำนวนมาก คือมีพระอัศวโฆษ พระนาคารชุน พระอสังคะ พระวสุพันธุ พระทินนาคะ และพระธรรมกีรติโดยมีผลงานและปรัชญาที่เด่นชัดและเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ได้แก่ เรื่องความว่างและอาลยวิญญาณ

References

เอกสารอ้างอิง
มูลนิธิเสถียรโกเศศ-นาคะประทีป. (2534). รัตนาวลี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2555). ปรัชญามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 6. นครปฐม: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุวิญ รักสัตย์. (2555). พระพุทธศาสนามหายาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด
บางกอกบล็อก.
สิริวัฒน์ คำวันสา. (2545). พุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร.
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. (2551). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30