เหตุใดเมืองราชคฤห์จึงเป็นสถานที่จัดปฐมสังคายนา?

ผู้แต่ง

  • พระมหาพจน์ สุวโจ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์
  • ชยาภรณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

คำสำคัญ:

เมืองราชคฤห์, พระสังคีติกาจารย์, ปฐมสังคายนา

บทคัดย่อ

บทความนี้ต้องการหาคำตอบว่า เหตุใดกรุงราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ จึงได้รับการคัดเลือกให้เป็นสถานที่สังคายนาพระธรรมวินัย ภายหลังพุทธปรินิพพานล่วงแล้วหนึ่งพรรษา การเลือกกรุง  ราชคฤห์ดังกล่าว มีนัยทางศาสนาหรือทางการเมืองหรือไม่? ผู้เขียนเลือกวิเคราะห์ 3 ประเด็น กล่าวคือ 1) เพราะกรุงราชคฤห์เป็นจุดกำเนิดพระพุทธศาสนา 2) เพราะความมั่นคงทางการเมือง และ 3) เพราะเป็นศูนย์กลางของเจ้าลัทธิน้อยใหญ่ ผลการศึกษาทำให้ทราบว่าภายหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว คณะสงฆ์ชักชวนกันทำสังคายนาพระธรรมวินัยอย่างเร่งด่วน เพราะพระสังคีติกาจารย์มองว่าเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง เนื่องจากสามารถบ่งชี้ถึงความมั่นคงของพระพุทธศาสนา แลจำเป็นต้องอาศัยสถาบันกษัตริย์เข้ามาช่วยเหลืออุปถัมภ์ ซึ่งสมัยนั้นพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธถือว่าทรงอิทธิพลมากกว่าผู้อื่นใด อีกปัจจัยหนึ่งคือกรุงราชคฤห์เป็นสถานที่กำเนิดของพระพุทธศาสนา และเป็นถิ่นเกิดของพระมหาเถระผู้ใหญ่หลายรูป ล้วนแล้วแต่ได้รับความไว้วางใจจากพระพุทธเจ้า รวมถึงมากพร้อมด้วยเจ้าลัทธิน้อยใหญ่ผู้ทรงอิทธิพลต่อสังคมสมัยนั้น

References

เอกสารอ้างอิง
ติปิฎกจูฬาภยเถระ. (2549). มิลินทปัญหา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูศรีปัญญาวิกรม. (2562). นามานุกรมบุคคคลพุทธศาสน์. นครปฐม: สาละพิมพการ.
พระคัมภีร์ทีปวงศ์: ตำนานว่าด้วยการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป. (2557). กรุงเทพฯ: บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). รู้จักพระไตรปิฎกเพื่อเป็นชาวพุทธที่แท้. กรุงเทพมฯ: บริษัทสหธรรมิกจำกัด.
_________. (2537). รัฐกับพระพุทธศาสนาถึงเวลาชำระล้างหรือยัง. กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิกจำกัด.
พระพุทธโฆสเถระ. (2550). อรรถกถาภาษาไทย พระวินัยปิฎก สมันตปาสาทิกา ภาค 1-2-3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_________. (2557). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_________. (2556). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_________. (2557). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหานามเถระและคณะบัณฑิต. (2553). พระคัมภีร์มหาวงศ์ ภาค 1 แปลโดย สุเทพ พรมเลิศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
A.K. Warder. (1970). Indian Buddhism. Delhi: Motilal Banarsidass.
A.L. Basham. (2004). The Wonder That Was India. London: Picador.
Alfred C. Woolner. (1917). Introduction to Prakrit. Calcutta: The Baptist Mission Press.
B.P. Sinha. (1954). The Decline of the Kingdom of Magadha. Patna: Motilal Banarsidass.


Bimala Churn Law. (1946). The Magadhas in Ancient India. London: The Royal Asiatic Society.
__________. (1932). Geography of Early Buddhism. London: Kegan Paul, Trance, Trubner & Co.LTD.,
Dipak Kumar Barua. (2003). An Analytical Study of Four Nikayas. New Delhi: Munshiram Manoharlal.
G.P. Malalasekera. (2002). Dictionary of Pali Proper Names Vol. I-II. New Delhi: Munshiram Manoharlal.
Hemchandra Raychaudhuri. (1927). Political History of Ancient India. Calcutta: University of Calcutta.
J.N. Samaddara. (1927). The Glories of Magdha. Patna: Patna University.
Kanai Lal Hazra. (1988). Constitution of the Buddhist Sangha. Delhi: B.R. Publishing Corporation.
Nalinaksha Dutt. (1941). Early Monastic Buddhism vol. I. Calcuttta: Calcutta Oriental Press Ltd.,
P.A. Bapat. (1997). 2500 Years of Buddhism. New Delhi: Publication Division.
Romila Thapar. (1978). Ancient Indian Social History. London: Orient Longman.
Sinclair Stevenson. (1915). The Heart of Jainism. Oxford: Oxford University Press.
Sris Chandra Chatterjee. (1942). Magadha: Architecture and Culture. Calcutta: University of Calcutta.
Sukumar Dutt.(2008). Buddhist Monks and Monasteries of India. Delhi: Motilal Banarsidass.
T.W. Rhys Davids. (1987). Buddhist India. Delhi: Motilal Banarsidass.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-04