อธิษฐานธรรม : หลักความมั่นคงของมนุษย์
คำสำคัญ:
อธิษฐานธรรม, ความมั่นคง, มนุษย์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักอธิษฐานธรรม ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักที่มีประโยชน์อย่างมากในการพัฒนาชีวิตมนุษย์ ผลจากการศึกษาพบว่า อธิษฐานธรรมมีประโยชน์อย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เพราะมนุษย์ที่มีธรรมเป็นเครื่องดำเนินไปย่อมมีความมั่นคงอย่างแน่นอน หลักอธิษฐานธรรมนั้น มี 4 ประการคือ (1)ปัญญา คือความรอบรู้ (2) สัจจะ คือความจริง (3) จาคะ คือการบริจาคทาน (4) อุปสมะ คือ รู้จักหาความสงบใจ เมื่อบุคคลนำไปพินิจพิจารณาด้วยปัญญาจนรู้แจ้งชัดในสิ่งที่เป็นประโยชน์และสิ่งที่หาประโยชน์ไม่ได้ บุคคลนั้นสามารถรู้เท่าทันความเป็นจริง ตลอดจนการเสียสละสิ่งที่เป็นข้าศึกต่อกุศลให้หมดไปจากตนเอง มนุษย์ก็สามารถเข้าถึงความสงบเกิดความมั่นคงในชีวิตของตนเองได้
References
พระวรศักดิ์ วรธมฺโม. (2540). พุทธจริยธรรมเพื่อมนุษยชาติ(ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก. (2551). ชนะใคร ไม่เท่าชนะใจตน. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
พระราชธรรมนิเทศ(ระแบบ ฐิตญาโณ). (2536). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: พ็อกเก็ตบุ๊ค.
พระธรรมสิงหบุราจารย์(จริญ ฐิตธมฺโม). (2550). หลักประกันชีวิตทุกลมหายใจใช้เวลาให้เป็นประโยชน์.กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
¬¬________. (2543). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2543.
________. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546.
________. (2546). พุทธธรรม (ฉบับปรับปรุงและขยายความ). พิมพ์ครั้งที่ 11.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
________. (2547). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). ธรรมนุญชีวิต ฉบับพากย์ภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
________. (2550). กระแสธรรมเพื่อชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
ฟื้น ดอกบัว. (2543). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณการพิมพ์.
สิรภพ เหล่าลาภะ. (ม.ป.ป.). พุทธศาสตร์การเมือง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด.
มานพ นักการเรียน. (2546). พระพุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. (2549). นิทานมงคลธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้น.
บุญมี แท่นแก้ว. (2530). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดี่ยนสโตร.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2538). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. (2549). นิทานมงคลธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
มูลนิธิพระราชศรัทธา.(2537). พระธรรมเทศนา กัณฑ์ที่ 29 เรื่องอธิษฐานธรรมค้ำความดีมั่นคง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง.
ธรรมรักษา. (2540). พระไตรปิฎกฉบับชาวบ้าน. กรุงทพฯ: สำนักพิมพ์สติ..
พระมหาทองคูณ ธีรปญฺโญ(ขนันไทย). (2549). การศึกษาเปรียบเทียบเรื่อง นิพพานในพระพุทธศาสนาเถรวาทมหานิกายโยคาวจารและวัดพระธรรมกาย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.