การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองในฐานะประวัติศาสตร์ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระครูโสภณวีรานุวัตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ
  • พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ
  • พระครูสิริพุทธิศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ
  • พระครูใบฎีกาศักดิ์ดนัย เนตรพระ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ
  • เอกมงคล เพ็ชรวงษ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

การศึกษาประวัติศาสตร์, เมืองอู่ทอง, เผยแผ่พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน มีวัตถุประสงค์  1) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในเมืองอู่ทอง  2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาสู่เมืองอู่ทอง  3) เพื่อศึกษาร่องรอยทางพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี(อู่ทอง)จากหลักฐานทางศิลปกรรม

    ผลจากการศึกษาพบว่า พระพุทธศาสนาได้แพร่กระจายเขาสูดินแดนทวารวดี (อู่ทอง) ตามเอกสารปัจจุบันเชื่อได้วา เขามาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 3 แตตามหลักฐานโบราณคดี ทั้งประติมากรรม   สถาปตยกรรมและจารึกพบวา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขามาประมาณพุทธศตวรรษที่ 8-10 ทั้งทางบกและทางทะเลนั้น พระพุทธศาสนาเมื่อเขามาแลวไดหยั่งรากลึกลง ในจิตใจของประชาชนที่นับถืออยางมั่นคง กอใหเกิดการสรางสรรคศิลปวัฒนธรรมและประเพณีพิธีกรรมอันดีงาม ที่ใช้อยูในปัจจุบันตรงบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง  ซึ่งรุ่งเรืองมากอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-16 มีเอกลักษณ์ด้านศิลปะเป็นของตนเองในชื่อ “ศิลปะทวารวดี” มีศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่แพร่หลายไปสู่เมืองอู่ทองและอื่นๆ นั้น ได้ทิ้งร่องรอยไว้ทั้งด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม เช่น ซากสถูป ธรรมจักรศิลา พระเจดีย์ พระพิมพ์ พระพุทธรูป ตลอดจนหลักฐานจารึกเกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่สำคัญและเป็นที่แพร่หลายในสมัยอู่ทอง จารึกคาถา เย ธมฺมา หัวใจพระพุทธศาสนา อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาท เป็นอาทิ ล้วนแต่เป็นเครื่องยืนยันร่องรอยต่าง ๆ ชี้ให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ศรัทธา ปัญญา ตลอดจนความเข้าใจในพระพุทธศาสนาของชาวพุทธได้เป็นอย่างดี

References

บรรณานุกรม
1.ภาษาไทย
เสถียร โพธินันทะ. ( 2515). ภูมิประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพบรรณาคาร.
_________. (2515). ภูมิประวัติพระพุทธศาสนา. พิมพ์ลักษณ์ กรุงเทพมหานคร: บรรณาคาร. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรมศิลปากร. (2531). แหลงโบราณคดีประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. เลม 1 ; เลม 2.
จิรา จงกล. (2510). พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร. กรมศิลปากรจัดพิมพ์เนื่องในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร วันที่ 25 พฤษภาคม 10.
ชิน อยู่ดี. (2509). “เรื่องก่อนประวัติศาสตร์ที่เมืองอู่ทอง” โบราณวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง. กรมศิลปากร.
ทักษิณ อินทโยธา. 2534. ใครคือเจาถิ่นลุมน้ำเจาพระยาและดามขวานทองเมื่อ 2,000-3,000ป กอน. กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ.
ประภัสสร์ชูวิเชียร. 2556. “แหล่งเรือจมที่วัดกลางคลอง สมุทรสาคร ข้อมลใหม่สู่การค้าโลกจากใต้ทะเลโคลน”. สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 27 ธันวาคม 56.
ผาสุข อินทราวุธ ,ศ.ดร. (2542). ทวารวดี: การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรสมัย.
_________.(2548). สุวรรณภูมิจากหลักฐานโบราณคดี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระธรรมปฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). (2547). จาริกบุญ – จารึกธรรม. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:บริษัทพิมพ์สวยจํากัด.
พรอม สุทัศน ณ อยุธยา. การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงที่บานคูบัว อําเภอเมือง จังหวัด ราชบุรี สมัยพระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนิษกะ จาก พ.ศ.273-703.
พิทูร มลิวัลย์ และไสว มาลาทอง. (2542). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
ศรีศักร วัลลิโภดม,รศ. (2552). หนังสือหลักฐานประวัติศาสตร์โบราณคดี. การประชุม สัมมนาทางวิชาการ เรื่องอู่ทองเมืองโบราณเมืองสร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตดั้งเดิม.
วินัย พงศ์ศรีเพียร,ดร. (2543). “ครูกับการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทย” คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์: จะเรียนจะสอนกันอย่างไร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
ศรีศักร วัลลิโภดม,รศ.ศ. (ม.ป.ป.). สยามประเทศ ภูมิหลังของประเทศไทยตั้งแตยุคดึกดําบรรพจนถึง สมัยกรุงศรีอยุธยาราชอาณาจักรสยาม.
ศักดิ์ชัย สายสิงห, ผศ.ดร. (2547). ศิลปะทวารวดีวัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ.
สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. (ม.ป.ป.). ตํานานพระพุทธเจดีย. กรุงเทพฯ:
สมเด็จพระวันรัตน. (ม.ป.ป.). พระยาปริยัติธรรมธาดา(แพ ตาลลักษณ) แปล). สังคีติยวงศ พงศาวดารเรื่องสังคายนาพระธรรมวินัย.
สิริวัฒน คําวันสา,รศ. (2542). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:บริษัท จรัลสนิทวงศการพิมพ จํากัด.
สุจิตต วงษเทศ. (2549). กรุงสุโขทัยมาจากไหน. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
__________. (2549). สุวรรณภูมิ ตนกระแสประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
หลวงบริบาลบริภัณฑ,ศ. (2503). เรื่องโบราณคดีฯ. พระนคร: รุงเรืองรัตน.
ชิน อยู่ดี. (2509). “เรื่องก่อนประวัติศาสตร์ที่เมืองอู่ทอง”. โบราณวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง กรมศิลปากร.
ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล. อดีตคณบดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (จากหนังสือ โบราณคดีวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง กรมศิลปากร รวบรวมจัดพิมพ์ เนื่องในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี วันที่ 13 พฤษภาคม 2509)


2.ภาษาอังกฤษ
Boeles, J.J. (1967). “A note on the ancient city called Lavapura” Journal of the Siam Society, Vol. LV, Partl (January 1967).
_______. (1977). “Travaux dela Mission Ar cheologique Francaise en Thailande”
Indrawooth Phasook, (2008). Dbara vati Dharmacakra . Bangkok : Saksopa Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-12