ผู้นำเชิงพุทธ: องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการ

ผู้แต่ง

  • ธวัชชัย สมอเนื้อ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณาชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ผู้นำเชิงพุทธ, องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการ

บทคัดย่อ

องค์ประกอบของภาวะผู้นำทางวิชาการ เป็นคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารโดยตรง โดยเฉพาะผู้บริหารโรงเรียนจะต้องแสดงบทบาทฐานะผู้นำในการเป็นผู้นิเทศและให้คำปรึกษา เพื่อช่วยเหลือ แก่ครู อาจารย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจหลัก อันเป็นปัจจัยอิทธิพลที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็น การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของภาวะผู้นำทาง วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ที่ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องแสดงบทบาทในการเสริมสร้างบรรยากาศ ทางวิชาการ เพื่อสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

References

บรรณานุกรม
1.ภาษาไทย
กอปรเชษฐ ตยัคคานนท์. (2544). หลักจิตวิทยาการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: เปลวอักษร.
เจษฎา บุญโฮม. (2546). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. นครปฐม: สถาบันราชภัฏนครปฐม.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2552). พฤติกรรมองค์การกรุงเทพบริษัทดีพริ้นท์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ดำรง มูลป้อน. (2557). “รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กเขตตรวจราชการที่ 11 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2540). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2537). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเซ็นทรัลเอ็กเพรส.
บุญมี ก่อบุญ. (2553). “รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทีมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ประภาศรี สุขเงิน. (2547). การสร้างบรรยากาศในโรงเรียน. วารสารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. 24 (1) เดือนมกราคม.
ประเวศ วะสี. (2540). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทตถาตาพับลิเคชั่น จำกัด.
______. (2546). ภาวะผู้นำ: ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมดา.
______. (2545). ภาวะผู้นำ ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร:ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.
______. (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2541). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์เอกสารและตำราสถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ลัดดาวรรณ นัดดาเทพ. (2557). “ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี”. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิเชียร วิทยอุดม. (2550). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร:บริษัท ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์ จำกัด.
วิกรม กรมดิษฐ์. (2551). มองซีอีโอโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โพสต์พับลิชชิง จำกัด (มหาชน).
สีร์รานี วสุภัทร. (2551). “ภาวะผู้นําทางวิชาการและสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.




2.ภาษาอังกฤษ
Blasé and Blasé. (2004). Effective Instructionl Leadership: Teacher’ s Perspectives on How Principals Promote Teaching and Learning in Schools. Thousand Oaks: Corwin Press.
McEwan. (1998). Seven Steps to Effective Instructional Leadership. CA: Macmillan.
N.L. Frigon and H.K. Jackson. (1996). The Leader. New York : Amecom.
Seyfarth. (1999). The principal: New Leadership for New Challenges. NJ: Prentice-Hall.
Steven R. Covey. (2005). The 8th Habit : From Effectiveness to Greatness. New York: Free Press.
Weber. G. (1997). Inner-City Children Can Be Taught to Read: Four Successful School. Washington. D.C.: Council for Basic Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-14